Blended learning ส่ง อ.ภาสกร


Blended learning ส่ง อ.ภาสกร

Blended learning ( สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้การเรียนรู้แบบผสมผสาน)  เป็นการผสมผสานวิธีหลายๆวิธี (Multiple Learning Methods) เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอน(teaching and learning) เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และเกิดทักษะด้านการปฏิบัติ(Practice Skill) เช่น การสอนในชั้นเรียนร่วมกับการสอนแบบออนไลน์(a combination of face-to-face and Online Learning) ใช้วิธีการบูรณาการ On-line learning,e-learning และ การเรียนแบบ face-to-face เข้าด้วยกัน เป็นแนวทางที่ได้รับความนิยมในการ training ของบริษัทเอกชนต่าง ๆ สามารถลดงบประมาณ ลดข้อจำกัดเรื่องระยะทาง สามารถศึกษาเองได้ ไม่ต้องไปเข้าคอร์สเรียนเป็นเวลา

 

Blended learning เหมาะกับการศึกษาด้านวิชาชีพ การฝึกอบรม การพัฒนาทักษะด้านฝีมือที่ต้องอาศัยความชำนาญ เพื่อพัฒนาผู้เรียนจาก Novice ไปสู่ Expert

blended learning เป็นสิ่งสำคัญของการศึกษาและเทคโนโลยี ,blended learning มีการใช้งานที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว,เป็นการบูรณาการระหว่างการเรียนในชั้นเรียนและการเรียนแบบออนไลน์,สามารถช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนและการใช้เวลาในชั้นเรียนได้เหมาะสม"

Blended Learning เป็นการบูรณาการ online learning และ face-to-face meetings เข้าด้วยกันข้อสมมติของชุมชนการเรียนรู้ในลักษณะนี้ คือ

1) ผู้เรียนจะมีปฏิสัมพันธ์ และร่วมมือกันที่ลึกซึ้งขึ้น

2)ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน จะเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่มที่มีการจัดวางการทำงานกลุ่มเป็นอย่างดี ด้วยการนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วย ก่อน และ/หรือหลังจากมีface-to-face learning แล้ว ก็ได้ ซึ่งอาจจะรวมถึง pre-event activities เพื่อ warm-up ก่อนมีการประชุมเป้าหมายก็เพื่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ในระหว่างผู้เรียน สร้างความรู้สึกการเป็นทีมร่วมกันซึ่งจะส่งผลต่อประสิทธิภาพ และความรวดเร็วในการทำงานกลุ่ม อาจมีการปฐมนิเทศ แนะนำ ชี้แจง ก่อนเรียนทางWeb conferences, online discussions, และ conference ซึ่งจะทำให้มีการเปิดใจกว้าง ที่จะเรียนรู้ร่วมกันแลกเปลี่ยนการเรียนรู้กัน ถ้าหากสุดท้ายผู้เรียนจะต้องมาพบกันในชั้นเรียนแบบเดิมหรือในอีกกรณีตัวอย่างหนึ่ง คือการให้มี Follow-up learning community หลังจาก มี face-to-face eventแล้ว ชุมชนการเรียนรู้ในลักษณะนี้ อาจด้วยการให้ผู้เรียนทำ group projects, discussing researchfindings, และ mentoring peers เป็นต้น หรือลักษณะ end-to-end communities ที่รวมทั้ง pre-event และfollow-up learning activities ด้วย ผู้เรียนบางคนอาจชอบ end-to-end community มากกว่า เพราะface-to-face meeting แบบปกติ มักเป็นเรื่องปฏิสัมพันธ์ระหว่างกลุ่ม ที่จะมาร่วมมือกันทำงานตัวอย่างเช่น ครูอาจใช้ ice-breaker community สำหรับ prework และแนะนำ เรื่องต่าง ๆ ให้กับผู้เรียน ใช้face-to-face experiential workshop ในการให้ความชัดเจนเรื่องจุดประสงค์การเรียนของแต่ละคน และใช้follow-up community ในการ coaching และ mentoring เพื่อให้ผู้เรียนได้บรรลุจุดประสงค์ที่วางไว้

 

ข้อดี

  1. สามารถเรียนบนเครือข่ายหรือ online
  2. ช่วยแก้ปัญหาการเรียนบางประการได้ เช่น บางทีเราอาจจะไม่สะดวกที่จะไปเรียนทุกครั้ง ก็นั่งเรียนที่บ้านผ่าน internet 
  3. ทำให้ได้ข้อมูลที่กว้างขึ้น
  4. สิ่งที่เรียนมานั้นสามารถนำมาปฏิบัติจริงได้

 

ข้อเสีย

  1.  
    1. ถ้าไม่มีคอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถเรียนได้
    2. ต้องอยู่ในที่ๆ มีบริการ internet

 

ที่มา

 

http://gotoknow.org/blog/boonphakdee/173913

 

http://researchers.in.th/blog/boonphakdee/178

http://e-lek.blogspot.com/2008/12/blended-learning.html

 

หมายเลขบันทึก: 243886เขียนเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2009 10:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 พฤษภาคม 2012 16:49 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท