เสวนา - มิติใหม่ของการศึกษาระดับนานาชาติ


บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดลจัดเสวนาเรื่อง "International Education: Opportunities for Improvement" เนื่องในงานมหิดลวิชาการ ประจำปี ๒๕๕๒ เมื่อ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒

มีวิทยากรคือ ศ.ดร.ม.ร.ว ชิษณุสรร สวัสดิวัฒน์, คุณพรทิพย์ กาญจนนิยต (ผู้อำนวยการมูลนิธิฟลุไบรท์) และคุณมธุมนต์ แคเทอร์เรนชัค (จากบริติช เคานซิล ประเทศไทย)

ผมไม่แยกว่าใครพูดอะไร แต่ขอนำสิ่งที่จดไว้ระหว่างประชุมมาเผยแพร่ ดังนี้

-----

การพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ - ไม่ใช่การเพิ่มหลักสูตร ไม่ใช่การเพิ่มจำนวนนศ.นานาชาติ

ประเด็นพิจารณา -

1. Research/ academics

2. Degrees/ programs

3. Staff quality

4. Student input/ output

5. Community related

Staff - ต้องมีงานวิจัยก่อน แล้วจึงมีนักศึกษา, ไม่ใช่มีนักศึกษาแล้วค่อยทำวิจัย

       - มี self-directed work

Mahidol - qualified but not well represented.

ก่อนเข้าเรียน - นศ.ผ่าน TOEFL 500? ถือเป็นพื้นฐาน

ประเด็นพิจารณา -

1. การบริหารจัดการ : งบ, infrastructure

2. คณาจารย์ : ไม่ global, รับคนตัวเอง (ภูมิใจเพราะมั่นใจรับลูกศิษย์มีคุณภาพ...จริงหรือ?)

3. นศ.ต่างชาติ/ผู้เชี่ยวชาญ : ควรรับที่มีคุณภาพ

4. ความร่วมมือกับต่างประเทศ : sharing 2 ฝ่าย (ไม่ใช่รับหรือให้ฝ่ายเดียว)

5. Community service

การสอน - ไม่ใช่เรื่องสอนเป็นภาอังกฤษ แต่ต้องดูเนื้อหา และ interaction

หลักสูตรนานาชาติเป็นภาษาไทยก็ได้ ถ้าองค์ประกอบต่างๆครบ

เพิ่มพันธุ์

หมายเลขบันทึก: 242535เขียนเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2009 13:13 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 เมษายน 2012 21:46 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท