โครงการฮาลาลไทยใครจะคุ้มครอง


คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอิสลามยะลาร่วมกับศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดโครงการฮาลาลไทยใครจะคุ้มครอง ขึ้นเมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๑ ณ หอประชุมวันมูหะมัดนอร์ มะทา มหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ต.เขาตูม อ.ยะรัง จ.ปัตตานี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสร้างความตระหนักถึงความสำคัญของการรับประทานอาหารที่ฮาลาล (เป็นที่อนุมัติตามบทบัญญัติอิสลาม) และต็อยยิบัน (ที่ดีมีประโยชน์) ต่อสุขภาพ ในงานมีการจัดนิทรรศการเกี่ยวกับอาหารฮาลาลและบูทแสดงสินค้าฮาลาล

 

I2662

ชมวีดีโอคำกล่าวต้อนรับเชิญคลิ๊กด้านล่างนี้ได้เลยครับ

แหล่งอ้างอิง http://uk.youtube.com/watch?v=DquNBUKDc34

ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา

กล่าวต้อนรับ

I2678

ตอนที่ ๑

รองศาสตราจารย์ ดร.อิสมาแอ อาลี ผู้อำนวยการวิทยาลัยอิสลามศึกษา (วอศ.)

และประธานฝ่ายกิจการฮาลาล คณะกรรมการกลางอิสลามแห่งประเทศไทย

ประธานในพิธี

I2672

I2684

I2686

บรรยายหัวข้อ "ประเด็นฮาลาลที่กระทบผู้บริโภคมุสลิม"

โดย รองศาสตราจารย์ ดร.วินัย ดะห์ลัน ผอ.ศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (กลาง)

อาจารย์มนูญ รามบุตร ผจก.ศูนย์บ่มเพาะวิสาหกิจ ผลิตภัณฑ์และบริการฮาลาล (ซ้าย)

อาจารย์ประวีณ ประพฤติชอบ นักวิทยาศาสตร์ประจำศูนย์วิทยาศาสตร์ฮาลาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Ppp111

นายแพทย์อนันตชัย ไทยประทาน (ขวา) และนายสมชาย กุลคีรีรัตนา (ซ้าย)

ร่วมนำเสนอหัวข้อ "ความจำเป้นในการก่อตั้งสมาคมคุ้มครองผู้บริโภคด้านฮาลาลแห่งประเทศไทย"

.................................................................................................................................

บรรยากาศในห้องประชุม

I2658

I2694

I2659

I2660

I2690

.................................................................................................................................

นิทรรศการฮาลาล

I2643

I2639

 

I2655

 

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 226407เขียนเมื่อ 30 พฤศจิกายน 2008 16:55 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 19:56 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)

-มารออ่านรายละเอียดค่ะ

-อยากรู้เรื่องอาหารตามบทบัญญัติค่ะ

-ต้องมีประโยชน์มากๆแน่เลย

  • สวัสดีครับkrutoi
  • เอารูปบรรยากาศมาให้ดูก่อนครับ
  • ส่วนอาหารตามบทบัญญัติจะนำมาลงภายหลังครับ อินชาอัลลอฮฺ (หากอัลลอฮฺทรงประสงค์)
  • ขอบคุณมากครับที่แวะมาเยี่ยม

งานนี้อยากเข้าร่วมมากๆ แต่ไปเจอกองทัพนักศึกษามุสลีมะห์ยืนเข้าแถวยาวมากๆ

ก็เลยต้องถอยทัพกลับมานั่งทำงาน ฮือๆๆๆๆๆๆๆๆๆ อดเลย

  • ครับ ผมก็ตั้งใจจะเข้าร่วมเช่นกัน เพราะเรื่อง "ฮาลาล" นี่เป็นเรื่องที่เราในฐานะมุสลิมต้องเกี่ยวข้องอยู่ตลอดชีวิตของเรา ด้วยกระบวนการผลิตในปัจจุบันที่มีกระบวนการที่ซับซ้อน
  • หากพิจารณาด้วยตา ก็ไม่สามารถที่จะรู้ได้ครับว่า อาหาร หรือผลิตภัณฑ์นั้นๆประกอบไปด้วยสิ่งที่อนุมัติหรือไม่หรือฮาลาล หรือเปล่า นักวิทยาศาสตร์หรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จึงเข้ามามีบทบาทอย่างสำคัญตรงนี้ร่วมกับผู้รู้ทางอิสลามศึกษา
  • ผมตั้งใจว่าจะอัพโหลดวีดีโอคำบรรยายในวันดังกล่าวเผยแพร่ในบล็อก อินชาอัลลอฮฺ

ผมกำลังประสานเพื่อขอวิดิโอแล้วแพร่ทางเว็บไซด์ครับ

  • ดีครับ อาจารย์Ibm ครูปอเนาะ ช่วยกันคนละไม้คนละมือ
  • ผมได้ลองอัพโหลดวีดีโอสำเร็จแล้วครับ อัลหัมดุลิลละฮฺ (มวลการสรรเสริญเป็นของอัลลอฮฺ) เริ่มจากคำกล่าวต้อนรับของท่าน ดร.อิสมาอีลลุตฟี จะปะกียา อธิการบดีมหาวิทยาลัยอิสลามยะลา ที่กล่าวแก่ผู้เข้าร่วมโครงการฮาลาลไทยใครจะคุ้มครอง ณ หอประชุมวันมูหะมัดนอร์ มะทา
  • ขอขอบคุณศูนย์คอมพิวเตอร์ สำนักวิยบริการมหาวิทยาลัยอิสลามยะลาที่กรุณาติดตั้งโปรแกรมตัดต่อวีดีโอให้ และคำแนะนำที่เป็นประโยชน์ ขออัลลอฮฺทรงตอบแทนด้วยความดี อามีน

แวะมาเยี่ยมชมกิจกรรมครับ เสียดายไม่ได้ร่วมด้วย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท