การวิจารณ์ผู้อื่น โดยไม่เกิดความขุ่นเคือง


การวิจารณ์ผู้อื่น โดยไม่เกิดความขุ่นเคือง

การวิจารณ์ผู้อื่น โดยไม่เกิดความขุ่นเคือง

 

            จงจำไว้ว่า ในการวิจารณ์ หรือการตำหนินั้น ถ้าจะให้ได้รับผลสำเร็จ จะต้องตั้งอยู่บนบันทัดฐาน และเป้าหมายที่มีคุณค่า ทั้งตัวของเราเอง และอีกฝ่ายหนึ่ง จงอย่าตำหนิ หรือวิจารณ์ผู้ใด เพียงเพราะเราต้องการจะเสริมอัตตาของตนเอง และถ้าเราต้องการจะแนะนำในสิ่งที่ถูกต้องให้กับเขา เราจะต้องพยายามหลีกเลี่ยง ที่จะเข้าไปแตะต้องในอัตตาของเขา ให้มากที่สุดเท่าที่จะมากได้

ข้อควรจำ 7 ประการ ที่ควรจะได้ทดลองปฏิบัติ

1.      การวิจารณ์ หรือการตำหนิ ควรจะต้องกระทำอย่างเป็นการส่วนตัว

2.      คำวิจารณ์ หรือคำตำหนิ ที่สมบูรณ์ จะต้องประกอบด้วยคำพูดที่มีเมตตา

3.      จงวิจารณ์ หรือตำหนิ แต่เฉพาะในเรื่องของการกระทำมิใช่เรื่องของตัวบุคคล

4.      พร้อมที่จะตอบคำถาม

5.      ขอร้องในเรื่องของความร่วมมือ อย่าใช้วิธีเรียกร้อง หรือบังคับ

6.      การตำหนิโทษเพียงครั้งเดียว ถือว่าเป็นการพอเพียงแล้ว

7.    จงทำให้เรื่องยุติลง บนพื้นฐานแห่งความเป็นมิตร

คำสำคัญ (Tags): #การเรียนรู้
หมายเลขบันทึก: 210835เขียนเมื่อ 22 กันยายน 2008 21:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 02:16 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบคุณครับ พี่เจน สำหรับเรื่องราวดีดี

ผมยิ่งชอบวิจารณ์อยู่ได้อ่านแล้วต้องนำไปพัฒนา(การวิจารณ์)

  • มาเยี่ยมจ้ะ
  • ให้ข้อคิดดีๆจ้ะ
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท