ช้อนที่ 100 กับ progress markers


เรื่องนี้เป็นเรื่องเล่าของ นพ. สกล สิงหะ จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ขอตั้งชื่อเรื่องว่า "ช้อนที่ 100 เท่านั้นเหรอ"

"ให้นึกภาพการตักเกลือใส่น้ำ ตักไปเรื่อยๆ จนมาถึงช้อนที่ 100 เกิดเป็นผิวเกลือที่ผิวน้ำ"

เรื่องเล่ามีแค่นี้ค่ะ แต่คำถามคือ เกลือช้อนที่ 100 ใช่ไหม ที่ทำให้เกิดผิวเกลือ?"

ใครที่เคยศึกษาเรื่อง Outcome Mapping มาแล้ว เห็นความเชื่อมโยงกับการอธิบาย Progress Marker ไหมค่ะ

อ้อม สคส.

 

คำสำคัญ (Tags): #outcome mapping#progress marker
หมายเลขบันทึก: 201128เขียนเมื่อ 15 สิงหาคม 2008 13:27 น. ()แก้ไขเมื่อ 7 มิถุนายน 2012 10:06 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

Progress Marker ที่พี่ลองมาทบทวนใหม่จะชัดเจนและเข้าใจก็เมื่อเราได้ target partners ตัวจริงเช่นHR PRของพี่ ตอนที่ภาพtarget partners กว้างมากๆ การออกแบบProgress Marker จึงดูเหมือนเกินจริงไม่มั่นใจว่าจะเกิดได้จริง ตอนนี้ไปทบทวนใหม่ของเก่าที่คิดตั้งแต่ครั้งแรกในช่วงเวลาที่มากถือว่าใช้ได้มากทีเดียว พี่ปรับ Med NU Mapping ใหม่เล็กน้อย

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท