ความงามที่มีพิษ


 

          ที่จริงผมจะเล่าเพื่อชื่นชมนักวิจัยไทย คือ ศ. ดร. สมศักดิ์ ปัญหา ที่ค้นพบสัตว์จำพวกตะขาบ species ใหม่ที่สวยงามมาก ดูได้ที่ http://species.asu.edu/2008_species03.php 

  
          นอกจากชื่นชม ดร. สมศักดิ์ แล้ว    ผมก็ได้เสพ เอ็นดอร์ฟิน ด้วย   เพราะผลงานวิจัยนี้ได้รับทุนจากโครงการ BRT ที่ผมริเริ่มไว้สมัยเป็น ผอ. สกว. 

๑๒ มิ.ย. ๕๑

ขอแก้ความเข้าใจผิดว่าสัตว์นี้เป็นพวกกิ้งกือครับ    เขาเรียกกิ้งกือมังกร ดูรายละเอียดได้ที่ http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9510000068043 

 

 

วิจารณ์ พานิช
๒๘ พ.ค. ๕๑

              

หมายเลขบันทึก: 185669เขียนเมื่อ 2 มิถุนายน 2008 09:46 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 00:20 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)
  • เป็นพันธ์ใหม่ หรือคะอาจารย์ ตามเข้าไปอ่านแล้วค่ะ
  • เพราะใต้ถุนบ้านก็มีตะขาบสีคล้ายๆกันนี้เหมือนกัน จะออกมาเดินตอนฝนหยุดตกใหม่ๆ
  • แต่ไม่แน่ใจว่าเป็นพันธ์เดียวกันไหม สีชมพูเหมือนกัน แล้วจะถ่ายรูปมาเทียบนะคะ

สวัสดีค่ะอาจารย์หมอ

  • ตามไปดูแล้ว..ที่ท่านอาจารย์บอกขออนุญาตไม่คล้อยตามนะคะ
  • เห็นแล้วขนลุก..รู้สึกจั๊กกะจี้ไปหมดค่ะ
  • เคยเห็นแต่ตะขาบตัวดำๆ --พ่อมักจะเอามาเป็นส่วนผสมเป็นยาให้ไก่ชนน่ะคะ

เรียนท่านอาจารย์หมอวิจารณ์ครับ

  • รู้สึกว่าตำแหน่งวิชาการปัจจุบันของอาจารย์สมศักดิ์ ปัญหา ปัจจุบันนี้เป็น ศาสตราจารย์แล้วครับ
  • แต่ไม่แน่ใจว่า โปรดเกล้าฯ แล้วหรือยัง


สัตวาพิธาน : พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจาริยางกูร)

กาพย์ฉบัง 16

ตะบองพลำใหญ่ยง อยู่ในป่าดง ตัวดุจตะขาบไฟแดง
มีพิษมีฤทธิ์เรี่ยวแรง พบช้างกลางแปลง เข้าปล้ำเข้ารัดกัดกิน ตะขาบพันธุ์หนึ่งอยู่ดิน พันธุ์หนึ่งอยู่ถิ่น สถานแลบ้านเรือนคน

 

 

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท