ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ PAR


เพื่อนชาว KM ที่เคารพครับ  วันนี้ตั้งใจเริ่มนำเสนอ นวัตกรรมชิ้นเอกของกระผมครับ (ผมลงความเห็นเองแหละ !!! ) ด้วยสาระที่ค่อนข้างยาวซักหน่อย พยายามเคี่ยวให้ข้น แล้วเชียว แต่ก็ยังยาวยืดอยู่ จึงเปลี่ยนกลยุทธเป็นการนำเสนอเป็นตอนๆๆละ สั้นๆ  ครั้งนี้เป็นตอนที่ 2 ในชุด PAR; นวัตกรรมการวิจัยเพื่อการจัดการการศึกษาชาติ ลองพิจารณาดูบ้างนะครับ  แต่...แต่...กรุณาอย่าลืมนี่ยังคงเดินตามครรลองของ KM ของเราคือ  การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ [share to learn] นั่นคือ ความคิดเห็นของท่านเป็นของมีค่าสำหรับผม   ผมน้อมรอรับอยู่แล้วครับ !!!!

PAR ;นวัตกรรมการวิจัยเพื่อจัดการการศึกษาชาติ [2]

ตอน  ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ   PAR

วามหมายคำสำคัญ[Key  word]

คำ ยุทธศาสตร์:วิชาการรบ (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530 โรงพิมพ์วัฒนาพานิชสำราญราช 2531 หน้า 434)

                คำ ยุทธศาสตร์  แปลจากคำ   STRATEGY: skill in  management  or planning

                                                    ( แผนการ , วิธีการ, อุบาย,กโลบาย,ยุทธศาสตร์, ยุทธวิธี,กลยุทธ (ดร.วิทย์  เที่ยงบุรณธรรม An  Advanced Desk English - English -  Thai Dictionary  โรงพิมพ์อักษรพิทยา  กทม. 2540  หน้า 1123)

                          PAR     ย่อมาจากคำ    Participation Action Research แปลว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม

                         SPAR   ย่อมาจากคำ  School  Participation Action Research แปลว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในโรงเรียน

                        CPAR ย่อมาจากคำ  Classroom  Participation Action Research  แปลว่า การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในชั้นเรียน

                ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ  : วิธีการที่ใช้ในการดำเนินการจัดการ

 

        ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ PAR  เพื่อปฏิรูปการศึกษาตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542  ในที่นี้จงใจให้หมายความรวมเอาว่า หมายถึง

การใช้ความพยายามที่จะศึกษาถึงการใช้ วิธีการในการดำเนินการ การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม เพื่อปรับเปลี่ยนการจัดการศึกษาให้เหมาะสมตามเจตนารมย์ของ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542  ด้วย   8 ยุทธศาสตร์หลัก   ดังต่อไปนี้

                   ยุทธศาสตร์ที่ 1

: ยุทธศาสตร์ R&D / E & D    เน้น  EXPOST FACTO  RESEARCH

คำอธิบายเบื้องต้น

R & D ; Research and Development (การวิจัยเพื่อพัฒนา) ในที่นี้    ให้หมายความรวมเอาว่า การนำผลการศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยมาใช้ในการพัฒนา (การพัฒนา : ปรับปรุง  เปลี่ยนแปลง  ต่อเติม  เสริมแต่งให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดเอาไว้

E & D : Evaluation and Development [การประเมินเพื่อการพัฒนา] ในที่นี้    ให้หมายความรวมเอาว่า การนำผลการวัดและประเมินมาใช้ในการการพัฒนา (การพัฒนา : ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง  ต่อเติม  เสริมแต่งให้ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดเอาไว้

EXPOST  FACTO  RESEARCH : การวิจัยที่ใช้ข้อมูล สารสนเทศ ที่มีอยู่แล้วมาศึกษา วิเคราะห์  สังเคราะห์เพื่อพัฒนา

 

ยุทธศาสตร์ที่ 2

: ใช้การนำเสนอข้อมูล [DATA] สารสนเทศ[INFORMATION]
ด้วยรูปแบบ  [MODEL] ดังนี้

รูปแบบ  [MODEL] การนำเสนอ ข้อมูล [DATA] สารสนเทศ[INFORMATION]   5 ขั้น

                1. เสนอด้วยตาราง [TABLE]

                2. สร้างแผนภูมิ [Graph – BAR Graph , LINE Graph ด้วยโปรแกรม EXCEL / POWER POINT

            3. แปลผล / อธิบาย/ขยายความแผนภูมิ [Graph – BAR Graph , LINE Graph ]

            4. ชี้ปัญหา /จุดที่ยังไม่น่าพอใจ ด้วยสูตร      P= C – F

            5. ใช้เทคนิค FGD.TECHNIQE  ค้นหา

 สาเหตุของปัญหา [ CAUSES]·                        

 แนวทางแก้ไข [ALTERNATIVES]·                        

 กำหนดนวัตกรรม [INNOVATION]·                        

 

ยุทธศาสตร์ที่ 3
           : ใช้เทคนิคการประชุมปฏิบัติการ  [WORKSHOP] ตามรูปแบบดังนี้

รูปแบบ [MODEL] การจัดประชุมปฏิบัติการ [WORKSHOP]

                    1.  จัดประชุม STAKEHOLDERS

                    2. ปรึกษา หารือแนวปฏิบัติ ในประเด็นหลัก

                   3. ปฏิบัติการใน ประเด็นหลัก

                   4. ได้ผลงาน/ข้อสรุป [ PRODUCT ] ใน ประเด็นหลัก

                5. นำไปปฏิบัติ [IMPLEMENT]

ประเด็นหลักที่ใช้ในการประชุมปฏิบัติการ [WORKSHOP]

คุณภาพชีวิตด้านที่ 8  : เก่ง

        วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้าน COGNITIVE  DOMAIN เน้นที่

MEAN (ค่าเฉลี่ย)ของคะแนนสอบปลายปีล่าสุด และหรือภาคเรียนล่าสุด  ทั้งระดับ

                        1.โรงเรียน

                        2.สายชั้น (สายป.1,  สายป.2,………..ม.6,)

                        3. ระดับการศึกษา  ( อนุบาล  ประถม  มัธยม)

                        4.กลุ่มวิชา (ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  กพอ. สลน. ปสช. อังกฤษ)

คุณภาพชีวิตด้านที่ 2 : แข็งแรง

        วิเคราะห์ผลการวัดสุขภาพร่างกายของนักเรียน  PHYSICAL /PSYCHOMOTOR  DOMAIN เน้นที่  MEAN  (ค่าเฉลี่ย)  ด้าน

                1.น้ำหนัก ช/ญ

                2.ส่วนสูง ช/ญ

                3. รอบอก ช/ญ

                4. ความคล่องตัว ช/ญ

                5. ความอ่อนตัว ช/ญ

คุณภาพชีวิตด้านที่ 3 : ดี

      วิเคราะห์ผลการวัดจิตพิสัย  ( AFFECTIVE  DOMAIN เน้นที่  MEAN  (ค่าเฉลี่ย)  ด้าน

                1.ความสนใจใฝ่รู้และสร้างสรรค์

                2.ความมีน้ำใจ

                3.ความมีวินัย

                4.ความเป็นไทย

                5.การบริโภคด้วยปัญญาในวิถีชีวิตไทย

เน้นการวิเคราะห์  MEAN (ค่าเฉลี่ย)ของคะแนนทดสอบด้วยแบบทดสอบ  ทั้งระดับ

            1.โรงเรียน

            2.สายชั้น (สายป.1,  สายป.2,………..ม.6,)

            3. ระดับการศึกษา  ( อนุบาล  ประถม  มัธยม)

 

ยุทธศาสตร์ที่ 4

: ยุทธศาสตร์การเรียนการสอนที่เน้น  COOPERATIVE  LEARNING

                COOPERATIVE  LEARNING

                                1. ROUNDROBIN

                                2. PAIR  CHECK /THINK PAIR  CHECK

                                3. CO-OP CO-OP

                                4. JIGSAW

                                5. GROUP  DISCUSSION

                                6. QUESTIONING

                                7. MIND  MAPPING /MIND  CONCEPT

                                8. CREATIVE  THINKING

                                9. INQUIRY METHOD

                                10.CHILD  ANALYSIS

 

ยุทธศาสตร์ที่ 5

: ยุทธศาตร์การบริหารจัดการแบบ  COOPERATIVE  MANAGEMENT

กระบวนการบริหารจัดการศึกษาพึงยึดหลัก

        “ การบริหารแบบมีส่วนร่วม” [PARTICIPATION MANAGEMENT] อันจักนำไปสู่การบริหารจัดการแบบร่วมมือร่วมใจ[ COOPERRATIVE MANAGEMENT ] เพื่อให้เป็นกลไกที่สอดรับกับการจัดกระบวนการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด” [ CHILD  CENTER ที่เน้น COOPERATIVE  LEARNING ] และการฝึกอบรมแบบ ยึดผู้อบรมมีความสำคัญที่สุด” [TRAINEE  CENTER]

                        COOPERATIVE  MANAGEMENT   เน้นที่

                                1.GROUP  DISCUSSION

                                2.SMALL GROUP  DISCUSSION

                                3. FGD.TECHNIQUE

                                4. STAFF / TEAM  WORK

                                5. WORKING GROUP

                                6. COMMITTEE

                                7. STEERING  COMITTEE

                                8. BOARD

                                9. MATRIX  ORGANIZATION

                                                 ETC.

ยุทธศาสตร์ที่ 6

:ประยุกต์ /*ปรับใช้แนวคิด ทฤษฏี  COOPERATITVE  LEARNING

มาใช้เป็น สื่อนวัตกรรม ในการแก้ปัญหาต่างๆ

                        COOPERATIVE  LEARNING  เน้นที่

                                1. ROUNDROBIN

                                2. PAIR  CHECK /THINK PAIR  CHECK

                                3. CO-OP CO-OP

                                4. JIGSAW

                                5. GROUP  DISCUSSION

                                6. QUESTIONING

                                7. MIND  MAPPING /MIND  CONCEPT

                                8. CREATIVE  THINKING

                                9. INQUIRY METHOD

                                10. CHILD  ANALYSIS

                        สื่อนวัตกรรม /  MODEL  เน้นที่

                        1.ใบงาน

                        2.ใบความรู้

                        3.ใบสร้างองค์ความรู้

                        4.BOPIP   MODEL   * CIPPA   MODEL

                        5.OEPC  MODEL      …..ETC……

ยุทธศาสตร์ที่ 7

: ยุทธศาสตร์การศึกษาวิเคราะห์เด็ก [CHILD  ANALYSISI] เพื่อแสวงหาข้อมูล [DATA]
 และ สารสนเทศ [INFORMATION]    เกี่ยวกับตัวเด็กเพื่อพัฒนา  เน้นที่

1. จัดเรียนลำดับ [RANKING] เด็ก จากคะแนนต่ำสุดไปหาสูงสุด โดย COMPUTER โปรแกรม EXCEL  โดยใช้ค่าเฉลี่ย [MEAN] จากการสอบปลายปีล่าสุดหรือภาคเรียนล่าสุด

2. จัดแบ่งเด็กออกเป็น 3 กลุ่มตามเกรด จะได้ดังนี้

                        กลุ่มเก่ง        ได้แก่ ผู้ที่ได้ เกรด  A

                        กลุ่มปานกลาง     ได้แก่ผู้ที่ได้ เกรด  B

                        กลุ่มอ่อน             ได้แก่ผู้ที่ได้เกรด C และต่ำกว่า

 

เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการจัดเด็กเข้ากลุ่มในการจัดการเรียนการสอนแบบ COOPERATIVE   LEARNING

3.เน้นประเด็นหลักที่จะใช้ในการประชุมปฏิบัติการ [WORKSHOP] คือ

 

             คุณภาพชีวิตด้านที่ 1  : เก่ง

              วิิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ด้าน COGNITIVE  DOMAIN เน้นที่

MEAN (ค่าเฉลี่ย)ของคะแนนสอบปลายปีล่าสุด และหรือภาคเรียนล่าสุด  ทั้งระดับ (จากแบบ ป 02/1-6)

1.ระดับชั้นเรียน

2.สายชั้น (สายป.1,  สายป.2,………..ม.6,)

3.กลุ่มวิชา (ภาษาไทย  คณิตศาสตร์  กพอ. สลน. สปช. อ

เขียนใน GotoKnow โดย 
 ใน km
หมายเลขบันทึก: 181929เขียนเมื่อ 12 พฤษภาคม 2008 15:34 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 19:02 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

มาเรียนรู้ เรื่อง PAR ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท