ดร.กฤษฎา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กฤษฎา สังขมณี

SUBPRIME CRISIS


ประเด็นพิจารณาสำหรับสินเชื่อธุรกิจบริการ

ประเด็นพิจารณาสำหรับสินเชื่อธุรกิจบริการ

ธุรกิจบริการโดยทั่วไปจะหมายถึงการทำธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง  ธุรกิจขนส่ง  ธุรกิจโรงแรม  ธุรกิจโรงพยาบาล  และยังรวมถึงธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ด้วยธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง  นั้นจุดที่ควรจะต้องพิจารณาในการประเมินความเสี่ยง  คือ  1.  ลักษณะของการดำเนินธุรกิจนั้น  ผู้บริหารงานมีความรู้  ความชำนาญ  มีชื่อเสียงในวงการและมีผลงานในอดีตเป็นที่น่ายอมรับเพียงใด  ประเภทของงานรับเหมานั้นชำนาญบางพื้นที่หรือทุกพื้นที่  แนวราบ  หรือ  อาคารสูง เป็นต้น2.  พิจารณาตัวโครงการในด้านทำเลที่ตั้ง  ต้นทุนโครงการ  ผู้ว่าจ้างเป็นภาครัฐบาลหรือเอกชนสัญญาก่อสร้างมีรายละเอียดมากมายโดยเฉพาะศัพท์เทคนิค3.  หลักประกันในการให้สินเชื่อเป็นอสังหาริมทรัพย์ตั้งอยู่ที่ใด  หรือเป็นการโอนสิทธิการรับเงิน4.  ความล่าช้าในการรับค่างวดงาน5.  การทำงานล่าช้ากว่ากำหนด6.  การคำนวณราคางานผิดพลาด7.  ราคาวัสดุก่อสร้างสูงขึ้น  รวมถึงการขาดแคลนวัสดุก่อสร้าง8.  ลูกหนี้คือผู้รับเหมาก่อสร้างทิ้งงานธุรกิจขนส่งทางเรือ  มีประเด็นพิจารณาประเมินความเสี่ยง  คือ1.  ประสบการณ์  และชื่อเสียงของคณะผู้บริหาร2.  วัตถุประสงค์ในการเพิ่มจำนวนเรือสมเหตุสมผลหรือไม่3.  สัดส่วนวงเงินกู้ต่อการลงทุนในเรือ4.  ลักษณะของเรือที่ซื้อ  ส่วนประกอบเรือ  อายุเรือ  ประเภทของเรือ   ระวางบรรทุก5.  ต้องประมาณการความสามารถในการชำระคืนโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อมมากมายธุรกิจขนส่งทางบก  มีประเด็นพิจารณาประเมินความเสี่ยง  คือ1.  ประสบการณ์และชื่อเสียงของผู้บริหารเช่นเดียวกัน2.  พิจารณาสัมปทานการเดินรถในสัญญาอย่างละเอียด3.  ผู้ว่าจ้างหรือลูกค้าใช้บริการรถขนส่งเป็นกลุ่มใดใช้บริการบ่อยครั้ง  และซ้ำๆ  ได้หรือไม่4.  มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุกับยานพาหนะของผู้ประกอบการสูง  ซึ่งอาจกระทบประมาณการของการชำระคืนหนี้5.  ธุรกิจผันแปรตามภาวะเศรษฐกิจและปริมาณการค้าระหว่างประเทศ ธุรกิจโรงแรม  มีประเด็นพิจารณาประเมินความเสี่ยง  คือ1.  เจ้าของผู้ลงทุนเป็นใคร  เงินลงทุนเริ่มต้นเพียงพอหรือไม่  สามารถเพิ่มทุนได้อีกในภายหลังได้อีกหรือไม่2.  คณะผู้บริหารมีประสบการณ์เพียงใด3.  ทำเลที่ตั้งโรงแรมรองรับกลุ่มลูกค้าเป้าหมายได้ตรงจุดหรือไม่4.  ต้นทุนโครงการสูงเกินจำเป็นหรือไม่  มีโอกาสบานปลาย  (cost overrun)  ได้5.  คู่แข่งขันในละแวกเดียวกันมีศักยภาพเป็นอย่างไรโดยเปรียบเทียบ6.  รายได้หลักมาจากห้องพัก  ห้องจัดเลี้ยง  ห้องประชุมสัมมนาหรือห้องอาหาร7.  ภาวะธุรกิจการท่องเที่ยวของประเทศไทย  รวมถึงการสนับสนุนจากภาครัฐบาล8.  สถานการณ์ทางการเมือง9.  นโยบายการตลาดไม่เป็นไปตามเป้าหมายธุรกิจโรงพยาบาล  แบ่งได้เป็นโรงพยาบาลทั่วไป  และโรงพยาบาลเฉพาะทาง  บริหารงานโดยเอกชนหรือมูลนิธิองค์กรสาธารณะกุศล  การจัดแบ่งเป็นโรงพยาบาลขนาดเล็กต่ำกว่า  50  เตียง  ขนาดกลางมีจำนวนเตียงระหว่าง  51 – 100  เตียง  ขนาดมาตรฐานมีจำนวนเตียง  100 – 200  เตียง  และขนาดใหญ่จำนวนมากกว่า  200  เตียงขึ้นไป  ประเด็นพิจารณาความเสี่ยงของธุรกิจโรงพยาบาล  ประกอบด้วย1.  ต้นทุนค่าก่อสร้างรวมทั้งเครื่องมือแพทย์  เมื่อเทียบกับขนาดของกิจการ2.  ความสามารถของผู้บริหาร  ซึ่งส่วนใหญ่เป็นนายแพทย์3.  ทีมแพทย์ผู้ทำการรักษามีความขัดแย้งกับคณะผู้บริหารหรือไม่4.  ทำเลที่ตั้งเหมาะสมกับลูกค้าเป้าหมายหรือไม่5.  โรงพยาบาลคู่แข่งขันมีศักยภาพทางการแข่งขันสูงกว่าหรือไม่6.  บุคลากรประจำทั้งแพทย์  พยาบาล  เจ้าหน้าที่เทคนิค  เพียงพอและเชี่ยวชาญมากน้อยเพียงใด7.  กรณีเกิดต้นทุนสูงขึ้นมาก  เจ้าของสามารถเพิ่มเงินทุนเข้ามาได้อีกเพียงใดธุรกิจอสังหาริมทรัพย์  แบ่งได้เป็นธุรกิจจัดสรร  ธุรกิจอาคารชุด  และธุรกิจที่พักอาศัยให้เช่า 

ธุรกิจจัดสรร  แบ่งได้อีกคือ

1.  จัดสรรที่ดิน2.  บ้านเดี่ยว3.  บ้านแฝด4.  ทาวน์เฮาส์5.  อาคารพาณิชย์ธุรกิจอาคารชุด  แบ่งได้เป็น1.  อาคารชุดพักอาศัย  (Residential Condominium)2.  อาคารชุดพักตากอากาศ  (Resort Condominium)3.  อาคารชุดสำนักงาน  (Office Condominium)ส่วนธุรกิจที่พักอาศัยให้เช่า  แบ่งได้เป็น1.  หอพัก2.  อพาร์ทเมนท์3.  แฟลตการพิจารณาโครงการอสังหาริมทรัพย์  มีประเด็นพิจารณาดังนี้1.  ผู้บริหารโครงการมีประสบการณ์มากเพียงพอหรือไม่  ผู้บริหารหน้าใหม่มีโอกาสล้มเหลวสูง2.  ประเภทโครงการ  ทั้งลักษณะโครงการ  สิ่งปลูกสร้างและสิ่งแวดล้อม และขนาดโครงการต้องเหมาะสม3.  ทำเลที่ตั้งโครงการสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย4.  การวางแผนโครงการมีการเตรียมการอย่างเป็นระบบหรือไม่  โดยปกติมักดำเนินการจาก4.1  จัดซื้อที่ดิน4.2  จัดวางผังโครงการ4.3  จัดสาธารณูปโภค4.4  ขออนุญาตจัดสรร  ทำเฉพาะกรณีมากกว่า  9  แปลงขึ้นไป4.5  กำหนดตารางการก่อสร้าง5.  แหล่งที่มาของเงินทุนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์  จะมาจาก  3  แหล่ง  คือเงินทุนของผู้ประกอบการที่ต้องชำระก่อน  เงินดาวน์จากลูกค้าของโครงการ  และจากธนาคารเป็นลำดับสุดท้าย6.  การประมาณการต้นทุนของโครงการต้องคิดให้รอบคอบ  เพราะมีหลายทาง  เช่น6.1  ค่าที่ดิน6.2  ค่าพัฒนาที่ดิน6.3  ค่าก่อสร้างตัวโครงการ6.4  ค่าสาธารณูปโภค6.5  ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารโครงการ6.6  ดอกเบี้ยจ่าย7.  แผนการตลาดน่าสนใจเพียงใด  และคู่แข่งขันจะโต้ตอบอย่างไร8.  ประมาณการกระแสเงินสด  (Cash Flow Projection)  ในแง่จำนวนเงินและเวลา

                    9.  คำนวณจุดคุ้มหนี้และจุดคุ้มทุนของโครงการ

ท่านคิดว่า  SUBPRIME CRISIS  กระทบไทยมากน้อยอย่างไร  กรุณาส่งความเห็นก่อนวันศุกร์ 25/1/51

หมายเลขบันทึก: 160919เขียนเมื่อ 23 มกราคม 2008 13:33 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 21:00 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (37)
น.ส.อัจฉรา อินทนนท์ 49473120091

subprime crisis จะมีผลกระทบกับประเทศไทยเนื่องจาก subprime crisis เป็นปัญหาของการให้สินเชื่อสำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์กับลูกหนี้ที่มีคุณภาพต่ำที่เกิดขึ้นในสหรัฐ ฯซึ่ง เป็นประเทศที่ถือได้ว่าเป็นตลาดใหญ่ในการส่งออกและทำการค้ากับประเทศต่างๆรวมทั้งไทย ซึ่ง subprime crsis ส่งผลให้ค่าของเงินดอลลาร์ลดลงเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นรวมทั้งค่าเงินบาทของไทยจึงส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นและก็จะส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย เนื่องจากการชลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯจะฉุดการขยายตัวของเศรษฐกิจในส่วนอื่นๆของโลกซึ่งส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพาสหรัฐฯในการส่งออกเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นจีนหรือญี่ปุ่น ให้ชลอตัวลงตามไปด้วยทำให้การส่งออกของไทยชลอตัวลง

เนตรนภา เอิบอิ่ม รหัส 49473120076

ปัญหา Subprime เกิดจากอัตราดอกเบี้ยที่ค่อนข้างต่ำของสหรัฐฯราคาบ้านในสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้มสูงขึ้นในช่วงที่ผ่านมาความสามารถในการคิดค้นนวัตกรรมทางการเงินของกองทุนประกันความเสี่ยง (Hedge Fund)
 การที่มี Hedge Fund เกิดขึ้นใหม่เป็นจำนวนมากผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก Subprime ต่อตลาดหุ้นไทยจึงเป็นลักษณะของผลกระทบทางอ้อม เพราะสถาบันการเงินไทยไม่ได้ลงทุนโดยตรงในตราสารที่อ้างอิงกับ Subprime มากนัก เงินทุนสำรองในภูมิภาคเอเชียที่มีอยู่เป็นจำนวนมากก็น่าจะเพียงพอที่จะรองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น แต่ก็น่าจะส่งผลให้เศรษฐกิจในประเทศชลอตัวลงและเงินบาทแข็งค่าขึ้นจากการที่ค่าเงินดอลลาร์ของสหรัฐฯลดลง

น.ส.พนิดา ศรีสกุล รหัส 49773120002

 Subprime คือ รูปแบบสินเชื่อในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีการให้ความสำคัญกับเรื่อง Rating หรือ Credit ของผู้ขอสินเชื่อค่อนข้างมาก จึงมีการแบ่งระดับของ Rating เป็น Prime Rate และ Subprime ซึ่งมี Rating ในระดับต่ำกว่า มีเงื่อนไขด้อยกว่า Prime Rate เช่น การที่ต้องเสียอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า หรือมีเงื่อนไขของวงเงินในการผ่อนชำระที่เข้มงวดกว่า Prime Rate เพราะสินเชื่อแบบ Subprime มีโอกาสสูงที่จะกลายเป็นหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL)
ผลกระทบต่อประเทศไทยนั้นยังเป็นทางอ้อม แต่ปัญหาซับไพร์มทำให้ตลาดหุ้นไทยผันผวนต่อเนื่อง สภาพคล่องในระบบการเงินโลกตรึงตัว อัตราดอกเบี้ยแพงขึ้น เศรษฐกิจสหรัฐฯชะลอตัวลง จึงมีผลกระทบต่อภาคการส่งออกของไทย เพราะสหรัฐฯเป็นตลาดหลักและจากปัญหา subprime crisis ส่งผลให้ค่าเงินของสหรัฐ ลดลด จึงส่งผลกระทบให้เงินบาทแข็งค่าขึ้น

 

นายทักษ์ดนัย ธนหิรัญพัฒน์ (49473120029)

ปัญหาเกี่ยวกับsubprime crisisที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยในตอนนี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในทางอ้อมคือที่ที่สหรัฐฯได้ปรับค่าอัตราดอกเบี้ยให้ตำลงแบบกระทันหันทำให้ตลอดหุ้นต่างๆในสหรัฐฯและประเทศไทยเกิดเหคุการราคาหุ้นตกลงทำให้ตลาดหุ้นไทยเกิดราคาตกต่ำลงมาถึงประมาณ30จุดได้และยังทำให้ผู้ที่ทำธุรกิจส่งออกส่งออกสินค้าได้ยากเพราะการที่เงินสกุลสหรัฐฯมีความออ่นตัวมากทำให้เงินสกุลบาทไทยเกิดแข็งค่าขึนมาทำให้ราคาสินค้าที่ประเทศไทยจะส่งออกทำให้ราคาสูงขึ้นเป็นผลทให้ต่างประเทศงดซื้อสินค้ากับไทยถึงเป็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นปัญหาทางอ้อมก็ตามแต่ไทยเราได้สกุลเงินดอลลาร์ในการซื้อขายกับต่างประเทศทำให้มีผลกระทบทั้งด้านการค้าและตลาดหุ้นด้วย

นางสาว ศิรัญญา ยอดแก้ว 49473120019
ผลกระทบต่อประเทศไทยนั้นยังเป็นทางอ้อม แต่ปัญหาซับไพร์มทำให้ตลาดหุ้นไทยผันผวนต่อเนื่อง สภาพคล่องในระบบการเงินโลกตรึงตัว อัตราดอกเบี้ยแพงขึ้น เศรษฐกิจสหรัฐฯชะลอตัวลง จึงมีผลกระทบต่อภาคการส่งออกของไทย เพราะสหรัฐฯเป็นตลาดหลักและจากปัญหา subprime crisis ส่งผลให้ค่าเงินของสหรัฐ ลดลด จึงส่งผลกระทบให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นทำให้เงินสกุลบาทไทยเกิดแข็งค่าขึนมาทำให้ราคาสินค้าที่ประเทศไทยจะส่งออกทำให้ราคาสูงขึ้นเป็นผลทให้ต่างประเทศงดซื้อสินค้ากับไทยถึงเป็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นปัญหาทางอ้อนแต่ในอนาคตถ้ายังเป็นแบบนี้ต่อไปจะทำให้ประเทศไทยเกิดสภาพคล่องกับธุรกิจในประเทศก็ได้
นางสาวสุทิศา เนกขัมม์ 49473120032
ผลกระทบต่อประเทศไทยการที่เงินสกุลสหรัฐฯมีความอ่อนตัวมากทำให้เงินสกุลบาทไทยเกิดแข็งค่าขึนมาทำให้ราคาสินค้าที่ประเทศไทยจะส่งออกทำให้ราคาสูงขึ้นสภาพคล่องในระบบการเงินโลกตรึงตัว อัตราดอกเบี้ยแพงขึ้น เศรษฐกิจสหรัฐฯชะลอตัวลง จึงมีผลกระทบต่อภาคการส่งออกของไทย เพราะสหรัฐฯเป็นตลาดหลักและจากปัญหา subprime crisis ส่งผลให้ค่าเงินของสหรัฐ ลดลด จึงส่งผลกระทบให้เงินบาทแข็งค่าขึ้น
น.ส.สุดาทิพย์ พลับลับโพธิ์ 49473120090
subprime crisis คือการให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์กับลูกค้าที่ด้อยคุณภาพของสหรัฐซึ่งไทยจะได้รับผลกระทบในด้านของค่าเงินบาทที่จแข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐอีกทั้งยังส่งผลกระทบในด้านการส่งออกเพราะเนื่องจากการที่สหรัฐฯประสบกับปรัญหา subprime crisis ทำให้เศรษฐกิจของสหรัฐขาดสภาพค่องซึ่งก็จะส่งผลกระทบต่อประเทศอื่นๆ ทำให้เศรษฐกิจของประเทศชลอตัวลงตามไปด้วยและปัญหาสภาพคล่องของสหรัฐจะมีผลต่อทิศทางอัตราดอกเบี้ยระหว่างประเทศและมีอิทธิพลสูงต่อตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศ  
นางสาวมลิศา ธนบัตร รหัส 49473120034
subprime crisis ที่กระทบต่อประเทศไทยในปัจจุบันที่เห็นได้ชัด คือ ปัญหาด้านการส่งออกของไทยถือได้ว่ายำแย่มาก ค่าเงินบาทก็สูงขึ้นเนื่องจากค่าเงินของสหรัฐฯมีค่าลดลงเป็นเหตุให้เศรษฐกิจของไทยอยู่ในขั้นวิกฤติ ซึ่งมิใช่เพียงแต่ไทยเท่านั้น อีกหลายๆประเทศก็มีปัญหาเช่นเดียวกัน ปัญหา subprime ของสหรัฐฯในเรื่องของสินเชื่อที่อยู่อาศัยที่ได้พบเห็นในข่าว เช่น การประกาศขายคอนโดจาก 799,900 เหรียญ กลายเป็นราคา 369,000 เหรียญ ลดลงไปประมาณ 4 แสนเหรียญ ภายใน 2 สัปดาห์ถือได้ว่ายังอยู่ในช่วงวิกฤติของเศรษฐกิจสหรัฐ ในด้านของประเทศไทยในขณะก็มีปัญหาในหลายๆ ด้าน เช่น ราคาสินค้าในปัจจุบันที่สูงขึ้นทุกอย่าง อาทิ ราคาน้ำมัน ราคาทองคำ ค่ารถโดยสารก็เพิ่มขึ้น เป็นต้น นอกจากนี้ราคาหุ้นเมืองไทยก็สูงขึ้นทำให้นักลงทุนของไทยต้องปวดหัวไปตามๆ กัน ด้านนายนายนิพนธ์ สุรพงษ์รักเจริญ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวว่าปัญหาซับไพร์มที่ส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจทั่วโลกจะไม่ส่งผลกระทบต่อขีดความสามารถการแข่งขันของผู้ประกอบการไทยมากนัก เนื่องจากไทยยังมีพื้นฐานเศรษฐกิจที่แข็งแกร่งโดยมองว่าปัญหาซับไพร์มส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยไปจนถึงไตรมาสที่ 2 และจะเริ่มคลี่คลายลงได้ในไตรมาสที่ 3 ของปีโดยหากรัฐบาลใหม่บริหารจัดการเศรษฐกิจให้ดี ซึ่งข้าพเจ้าคิดว่าเศรษฐกิจของไทยจะดีขึ้นหรือไม่มิได้ขึ้นอยู่กับเศรษฐกิจของสหรัฐฯ เพียงอย่างเดียว แต่ขึ้นอยู่ว่ารัฐบาลของไทยจะร่วมมือกันแก้ปัญหาได้มากน้อยเพียงใด
นางสาว สมจิตร ประมาพงค์ รหัส49473120086
Subprime เป็นปัญหาของสหรัฐอเมริกาซึ่งเกี่ยวกับการให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์ซึ่งมีผลกระทบต่อต่างประเทศมากๆและไทยก็ได้รับผลกระทบต่อปัญหานี้อย่างมากเช่นกันโดยเฉพาะด้านค่าเงินบาทของไทยทำให้เงินบาทแข็งค่าและมีผลกระทบต่อธุรกิจส่งออกเมื่อธุรกิจส่งออกประสบปัญหาก็ทำให้มีปัญหาอื่นๆอีกมากมายตามมาไม่ว่าจะเป็นทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ เศรษฐกิจตกตำขาดสภาพคล่องมีการชลอตัวและในที่สุดก็มีปัญหาคนว่างงานตามมา
นางสาว สราพร สิงหพงษ์ รหัส 49473120039

subprime  ที่กระทบต่อประเทศไทยในปัจจุบันที่เห็นได้ชัด คือ ปัญหาด้านการส่งออกของไทยถือได้ว่ายำแย่มาก ค่าเงินบาทก็สูงขึ้นเนื่องจากค่าเงินของสหรัฐฯมีค่าลดลงเป็นเหตุใทำให้เศรษฐกิจของประเทศชลอตัวลงตามไปด้วยและปัญหาสภาพคล่องของสหรัฐจะมีผลต่อทิศทางอัตราดอกเบี้ยระหว่างประเทศและมีอิทธิพลสูงต่อตลาดเงินและตลาดทุนระหว่างประเทศทำให้เศรษฐกิจของไทยอยู่ในขั้นวิกฤติและปัญหาต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกก็ตามมาอีกมาดมาย

น.ส.ชุธิมา เหมือนงิ้ว รหัส 49473120025
subprime crisis เป็นปัญหาของการให้สินเชื่อสำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์กับลูกหนี้ที่มีคุณภาพต่ำที่เกิดขึ้นในสหรัฐ ฯซึ่ง เป็นประเทศที่มีตลาดใหญ่ในการส่งออกและทำการค้ากับประเทศต่างๆรวมทั้งไทย ซึ่ง subprime crsis ส่งผลให้ค่าของเงินดอลลาร์ลดลงเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นรวมทั้งส่งผลกระทบต่อค่าเงินบาทของไทยจึงส่งผลให้เงินของบาทแข็งค่าขึ้น ทำให้ภาคการส่งออกของประเทศได้รับผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาทและก็จะส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย นอกจากนี้ยังส่งผลให้นักลงทุนในต่างประเทศเทขายหุ้นในประเทศทำให้ตลาดหุ้นมีการซื้อขายลดลง
นางสาวอรัญญา นันทพรสิริพงศ์ รหัส 49473120038
สำหรับผลกระทบต่อปัญหาซับไพร์มที่มีต่อเศรษฐกิจไทยมี 2 ด้าน คือ กระทบต่อการส่งออก เนื่องจากสหรัฐเป็นประเทศคู่ค้าสำคัญของไทย ดังนั้น การส่งออกไปสหรัฐคงจะลดลง และทำให้อัตราการขยายตัวของการส่งออกปีนี้ลดลง ซึ่งจะมีผลต่อเนื่องมาถึงอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยลงตาม เพราะภาคการส่งออกเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุด แต่จะลดลงมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับความสามารถของรัฐบาลใหม่ว่าจะส่งเสริมหรือสนับสนุนภาคการส่งออกและหาตลาดใหม่มาทดแทนสหรัฐได้หรือไม่ ส่วนผลกระทบด้านที่ 2 คือ การเคลื่อนย้ายเงินทุนระหว่างประเทศ โดยนักลงทุนต่างชาติเทขายหุ้นในย่านเอเชีย รวมทั้งตลาดหุ้นไทย ทำให้คาดการณ์ว่าตลาดหุ้นไทยจะมีความผันผวนจนถึงกลางปี 2552 ดังนั้น นักลงทุนจะต้องเพิ่มความระมัดระวังในการลงทุน ข้าพเจ้าเชื่อว่าหากรัฐบาลใหม่เข้ามาบริหารประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ทำให้เศรษฐกิจไทยฟื้นตัว ก็เชื่อว่านักลงทุนต่างชาติที่เทขายหุ้นไทยออกไปจะกลับเข้ามาลงทุนในตลาดหุ้นไทยอีก เพราะขณะนี้ราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ตั้งแต่ต้นปี 2551 ลดลงถึง 13-14% เป็นราคาที่ต่ำพอสมควร ขณะที่พื้นฐานของหุ้นยังดี จึงมั่นใจว่าต่างชาติจะกลับเข้ามาช้อนซื้อใหม่"

Subprime Loan เป็นสินเชื่อประเภทหนึ่งของสหรัฐฯ ที่ให้เงินกู้กับผู้ขอสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์มากกว่าหรือเท่ากับมูลค่าของหลักทรัพย์ จากปกติจะให้สินเชื่อประมาณ 80% ของมูลค่าหลักทรัพย์เท่านั้น นอกจากนี้ถ้าราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น ผู้ขอสินเชื่อก็สามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมตามราคาหลักทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นมาได้



ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สินเชื่อ Subprime ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ เพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ขณะนี้ราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ปรับตัวลดลง ทำให้ธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ ต้องการเงินกู้คืนเพื่อป้องกันความเสี่ยง เมื่อผู้ขอสินเชื่อไม่มีเงินมาชำระ จึงกลายเป็นสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL)



ตลาด Subprimeในธุรกิจสินเชื่อจึงมีความเสี่ยงที่สูงกว่า แต่ก็ให้อัตราผลตอบแทนแก่ผู้ให้กู้ในอัตราที่สูงกว่าตลาด Prime เช่นกัน โดยผู้กู้จะใช้ Subprime Mortgage หรือประเภทสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นคือเมื่อผู้กู้เกิดปัญหาในการชำระหนี้ ส่งผลให้ผู้ให้กู้จำเป็นต้องประกาศชำระหนี้ของตนเอง โดยมีความต้องการที่จะชดใช้หนี้ด้วยการประกาศขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ในราคาที่ถูกกว่าราคาตลาด ทำให้มูลค่าหรือราคาอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวมีมูลค่าลดลงหรือต่ำกว่าราคาตลาด

ปัญหานี้เริ่มเกิดขึ้นในตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐฯ โดยฟองสบู่ของธุรกิจเกิดขึ้นในช่วงปี 2544-2548 ในแคลิฟอร์เนีย ฟลอริด้า นิวยอร์ค ซึ่งมีการปล่อยกู้สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ที่ด้อยมาตรฐาน ด้วยการประเมินมูลค่าอสังหาฯ สูงเกินมูลค่าจริง โดยอ้างอิงถึงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในอนาคตเป็นเกณฑ์การให้สินเชื่อ และเมื่ออัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์จากจุดที่ใช้ประเมินมูลค่า ผู้กู้ไม่มีความสามารถในการชำระหนี้ Subprime ทำให้มูลค่าสินทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันนั้นถดถอยลงไปอีก จึงเกิดการปรับฐานของมูลค่าสินทรัพย์ครั้งสำคัญขึ้นในปี 2548


ผลกระทบจากมูลค่าสินทรัพย์ที่ลดลงในครั้งนั้น ได้ส่งผลถึงตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐฯ ผู้ประกอบการที่อยู่อาศัย ผู้ประกอบการวัสดุก่อสร้าง ตลอดจนกองทุนเฮดจ์ฟันด์ในตลาดหุ้นวอลล์สตรีท ซึ่งถือหุ้นโดยนักลงทุนสถาบันรายใหญ่ต่างๆ และท้ายสุดคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อการถดถอยของเศรษฐกิจในสหรัฐฯ ด้วย

ประภาพรรณ เรืองทอง 49473120027

ลืมพิมชื่อค่ะ

 

Subprime Loan เป็นสินเชื่อประเภทหนึ่งของสหรัฐฯ ที่ให้เงินกู้กับผู้ขอสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์มากกว่าหรือเท่ากับมูลค่าของหลักทรัพย์ จากปกติจะให้สินเชื่อประมาณ 80% ของมูลค่าหลักทรัพย์เท่านั้น นอกจากนี้ถ้าราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น ผู้ขอสินเชื่อก็สามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมตามราคาหลักทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นมาได้



ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สินเชื่อ Subprime ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ เพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ขณะนี้ราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ปรับตัวลดลง ทำให้ธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ ต้องการเงินกู้คืนเพื่อป้องกันความเสี่ยง เมื่อผู้ขอสินเชื่อไม่มีเงินมาชำระ จึงกลายเป็นสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL)



ตลาด Subprimeในธุรกิจสินเชื่อจึงมีความเสี่ยงที่สูงกว่า แต่ก็ให้อัตราผลตอบแทนแก่ผู้ให้กู้ในอัตราที่สูงกว่าตลาด Prime เช่นกัน โดยผู้กู้จะใช้ Subprime Mortgage หรือประเภทสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นคือเมื่อผู้กู้เกิดปัญหาในการชำระหนี้ ส่งผลให้ผู้ให้กู้จำเป็นต้องประกาศชำระหนี้ของตนเอง โดยมีความต้องการที่จะชดใช้หนี้ด้วยการประกาศขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ในราคาที่ถูกกว่าราคาตลาด ทำให้มูลค่าหรือราคาอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวมีมูลค่าลดลงหรือต่ำกว่าราคาตลาด

ปัญหานี้เริ่มเกิดขึ้นในตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐฯ โดยฟองสบู่ของธุรกิจเกิดขึ้นในช่วงปี 2544-2548 ในแคลิฟอร์เนีย ฟลอริด้า นิวยอร์ค ซึ่งมีการปล่อยกู้สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ที่ด้อยมาตรฐาน ด้วยการประเมินมูลค่าอสังหาฯ สูงเกินมูลค่าจริง โดยอ้างอิงถึงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในอนาคตเป็นเกณฑ์การให้สินเชื่อ และเมื่ออัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์จากจุดที่ใช้ประเมินมูลค่า ผู้กู้ไม่มีความสามารถในการชำระหนี้ Subprime ทำให้มูลค่าสินทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันนั้นถดถอยลงไปอีก จึงเกิดการปรับฐานของมูลค่าสินทรัพย์ครั้งสำคัญขึ้นในปี 2548


ผลกระทบจากมูลค่าสินทรัพย์ที่ลดลงในครั้งนั้น ได้ส่งผลถึงตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐฯ ผู้ประกอบการที่อยู่อาศัย ผู้ประกอบการวัสดุก่อสร้าง ตลอดจนกองทุนเฮดจ์ฟันด์ในตลาดหุ้นวอลล์สตรีท ซึ่งถือหุ้นโดยนักลงทุนสถาบันรายใหญ่ต่างๆ และท้ายสุดคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อการถดถอยของเศรษฐกิจในสหรัฐฯ ด้วย

นางสาวหทัยภัทร อินทร์ปัญญา รหัส 49473120059

ตลาดหุ้นทั่วโลกรวมถึงตลาดหุ้นไทยได้ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีสาเหตุหลักมาจากปัญหาสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ประเภทด้อยมาตรฐาน (Subprime Loan) ของสหรัฐอเมริกา

Subprime Loan เป็นสินเชื่อประเภทหนึ่งของสหรัฐฯ ที่ให้เงินกู้กับผู้ขอสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์มากกว่าหรือเท่ากับมูลค่าของหลักทรัพย์ จากปกติจะให้สินเชื่อประมาณ 80% ของมูลค่าหลักทรัพย์เท่านั้น นอกจากนี้ถ้าราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น ผู้ขอสินเชื่อก็สามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมตามราคาหลักทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นมาได้ ซึ่งในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สินเชื่อ Subprime ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ได้เพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ขณะนี้ราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ได้ลดลง ทำให้ธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ ต้องการเงินกู้คืน เพื่อป้องกันความเสี่ยง เมื่อผู้ขอสินเชื่อไม่มีเงินมาชำระ จึงกลายเป็นสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL)

สาเหตุที่ทำให้ปัญหาสินเชื่อ Supprime ส่งผลกระทบไปทั่วโลก เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ มีการออกตราสารหนี้ที่เรียกว่า Collatteral Debt Obligation (CDO) โดยนำสินเชื่อ Subprime เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน เมื่อราคาอสังหาริมทรัพย์ลดลง ก็มีผลให้มูลค่าของ CDO ลดลงตามไปด้วย และมีผลกระทบต่อเนื่องไปถึงผู้ที่ลงทุนใน CDO ซึ่งมีอยู่ทั่วโลก

ส่วนสาเหตุที่นักลงทุนนิยมเข้าไปลงทุนใน CDO เนื่องจากเป็นการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูง โดย CDO ที่มีอันดับเครดิตต่ำบางประเภท ให้ผลตอบแทนสูงถึง 10% ส่วน CDO ที่มีอันดับเครดิตที่ดี อัตราผลตอบแทนก็จะลดลงมา แต่ปัญหาของการลงทุนใน CDO คือ มีความเสี่ยงค่อนข้างสูง มีสภาพคล่องน้อย และไม่มีตลาดมารองรับในช่วงที่ผู้ถือหน่วยลงทุนต้องการขาย ทำให้ธนาคารพาณิชย์และกองทุนที่ลงทุนใน CDO ต้องนำเงินทุนมารับซื้อหน่วยลงทุนคืน
เมื่อธนาคารพาณิชย์และกองทุนที่ลงทุนใน CDO มีสภาพคล่องไม่มากพอ อาจจะมีความจำเป็นต้องขายสินทรัพย์ที่ไปลงทุนไว้ทั่วโลก ซึ่งตลาดหุ้นก็เป็นสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง และให้ผลตอบแทนที่ดี จึงอาจจะทำให้เกิดการถอนการลงทุนจากตลาดหุ้นทั่วโลกได้
ปัญหาสินเชื่อ Subprime สามารถแก้ไขได้ ถ้าธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ลดอัตราดอกเบี้ยลง เพราะจะทำให้ประชาชนรู้สึกว่าปัญหาได้ถึงจุดต่ำสุดแล้ว และกล้าที่จะลงทุนอีกครั้ง ส่วนการที่ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ ได้อัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบไปแล้วนั้น ก็จะช่วยได้เฉพาะธนาคารของแต่ละประเทศเท่านั้น
ปัญหาสินเชื่อ Subprime สามารถแก้ไขได้ ถ้าธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) ลดอัตราดอกเบี้ยลง เพราะจะทำให้ประชาชนรู้สึกว่าปัญหาได้ถึงจุดต่ำสุดแล้ว และกล้าที่จะลงทุนอีกครั้ง ส่วนการที่ธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ ได้อัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบไปแล้วนั้น ก็จะช่วยได้เฉพาะธนาคารของแต่ละประเทศเท่านั้น

ปัญหาสินเชื่อ Subprime ของสหรัฐฯ อาจจะทำให้กองทุนที่ลงทุนในสินเชื่อ Subprime ถอนการลงทุนจากตลาดหุ้นไทย เพราะมีความจำเป็นต้องถือเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ไว้ให้นักลงทุนที่ต้องขายหน่วยลงทุนออกไป

ทั้งนี้ เชื่อว่ากองทุนเหล่านี้จะขายหุ้นในตลาดหุ้นทั่วโลกต่อไปอีกระยะหนึ่ง เนื่องจากยังไม่สามารถประเมินขนาดของปัญหาได้ นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่กับสภาพเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ด้วย ส่วนวิธีแก้ปัญหาการขาดสภาพคล่องนั้น ธนาคารกลางของแต่ละประเทศก็สามารถทำได้ โดยการเพิ่มสภาพคล่องให้กับสถาบันการเงินภายในประเทศ

ส่วนกรณีที่มีธนาคารพาณิชย์ของไทยจำนวน 4 แห่ง ที่เข้าไปลงทุนในตราสาร CDO นั้น เชื่อว่าปัญหาสินเชื่อ Subprime จะไม่ค่อยมีกระทบต่อธนาคารทั้ง 4 แห่ง เพราะมีสัดส่วนการลงทุนในสินเชื่อ Subprime ไม่มากนัก 
 

น.ส.พาฝัน โหเทพา รหัส 49473120058

Subprime คือ รูปแบบสินเชื่อในประเทศสหรัฐอเมริกา ที่มีการให้ความสำคัญกับเรื่อง Rating หรือ Credit ของผู้ขอสินเชื่อค่อนข้างมาก จึงมีการแบ่งระดับของ Rating เป็น Prime Rate และ Subprime ซึ่งมี Rating ในระดับต่ำกว่า มีเงื่อนไขด้อยกว่า Prime Rate เช่น การที่ต้องเสียอัตราดอกเบี้ยสูงกว่า หรือมีเงื่อนไขของวงเงินในการผ่อนชำระที่เข้มงวดกว่า Prime Rate เพราะสินเชื่อแบบ Subprime มีโอกาสสูงที่จะกลายเป็นหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL)

นางสาวภูริดา เลาฉัตติกุล

Subprime crisis เป็นปัญหาของ ลูกหนี้ชั้นสอง ซึ่งเกิดขึ้นจากการที่ธนาคารลูกของสหรัฐได้ปล่อยสินเชื่อให้กับลูกหนี้ในด้านอสังหาริมทรัพย์ แล้วลูกหนี้ไม่สามารถชำระหนี้ได้ทันเวลาจึงทำให้เกิดปัญหาหนี้สูญขึ้น

ส่งผลให้ค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯลดลงเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นรวมทั้งค่าเงินบาทของไทยจึงส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้น จึงส่งผลกระทบมากสำหรับไทยโดยเฉพาะในด้านการลงทุนเกี่ยวกับการส่งออกเพราะโดยส่วนมากตลาดที่ไทยส่งออกมากที่สุดอันดับแรกจะเป็นตลาดของสหรัฐฯ และยิ่งถ้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่เป็นของไทยที่เองแล้วยิ่งส่งผลกระทบอย่างมาก  การส่งออกก็จะชะลอตัวจากเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้ามีปัญหา ก็จะทำให้ความต้องการบริโภคลดลงตัวอย่างคือ เมื่อก่อนที่ค่าเงินบาทยังไม่แข็งอาจมีต้นทุน40บาทต่อชิ้น และยังคงมีสินค้าคงเหลือไว้ในคลังและเมื่อเกิดปัญหาขึ้นเงินบาทแข็งตัวทำให้ค่าเงินถูกลงถ้าเราจะเก็งกำไรก็คงจะเป็นไปไม่ได้เราอาจจะส่งออกได้แค่เพียงเท่าทุนเท่านั้น บางกิจการอาจขาดทุนและบางกิจการอาจถูกยกเลิกรายการเลยก็เป็นได้ แต่ถ้าเป็นสินค้าของนอกที่นำมาผลิตในไทยคงจะไม่ส่งผลกระทบมากนัก และปัจจุบันค่าเงินบาทลดลงทำให้ทีการเพิ่มดอกเบี้ยสูงขึ้นเพื่อนำไปชดเชยความเสียหาย และในส่วนของตลาดหุ้นสำหรับประเทศไทย แม้ว่าจะไม่มีปัญหาทางตรง แต่ก็ต้องยอมรับว่านักลงทุนต่างประเทศที่เข้ามาลงทุนในตลาดหุ้นก็ถือเป็นสัดส่วนถึง 40-50% ของมูลค่าซื้อขาย เมื่อปรับพอร์ตการลงทุนก็จะปรับทั้งภูมิภาค และไทยก็หนีไม่พ้นที่จะต้องได้รับผลกระทบไปด้วย การบริโภคในประเทศจะหดตัวลงจากการที่ตลาดหุ้นตกต่ำ
น.ส. สุพรรษา มานุช 49473120079
Subprime    crisis  จะมีผลกระทบกับประเทศไทยในทางด้านสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์    เมื่อได้เกิดปัญหานี้จะทำให้ส่งผลลุกลามกับตลาดเงินและตลาดทุนทั่วโลกมากกว่าที่หลายคนคาด เพราะผู้ที่ได้รับความเสียหายในเบื้องต้นเป็นวาณิชธนกิจขนาดใหญ่ที่ลงทุนไปทั่วโลก และเมื่อเกิดการขาดทุนในบริษัทแม่ ทำให้จำเป็นต้องมีการสั่งปิดกองทุน และมีการขายสินทรัพย์ออกมา
                นอกจากนี้ แม้ว่าธนาคารกลางของประเทศต่าง ๆ จะยืนยันว่าไม่จำเป็นต้องออกมาตรการพิเศษออกมาเพิ่มเติม และได้พยายามบรรเท่าสถานการณ์ที่เลวร้ายด้วยการอัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบ

ความคลุมเครือที่รอความชัดเจนในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ Subprime มีด้วยกัน 4 ประเด็นคือ
                1. ปัญหา Subprime จะลุกลามไปยังอสังหาริมทรัพย์อื่น ๆ ของสหรัฐฯหรือไม่ เพราะหลายปีมาแล้วที่ปัญหาอสังหาริมทรัพย์ของสหรัฐฯทำให้เกิดฟองสบู่ในระบบเศรษฐกิจ ที่หากมีการปรับฐานลงมาก็จะกระทบกับความมั่งคั่งของชาวสหรัฐฯ ที่ลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ และความมั่งคั่งที่ลดลงจะทำให้เงินในกระเป๋าของชาวสหรัฐฯที่จะนำไปลงทุนในด้านต่าง ๆ ลดลงด้วย                                 

                 2. ปัญหา Subprime ยังอาจลุกลามต่อเนื่องไปถึงการลดทอนการบริโภคลง สังเกตได้จากยอดขายของห้างค้าปลีกขนาดใหญ่ของสหรัฐฯ เช่น Wall Mart ที่มีแนวโน้มลดลง                                           

                 3. ปัญหา Junk Bond ที่นักเก็งกำไรทั้งหลายนิยมเข้าไปลงทุนในช่วงก่อนหน้านี้ เพราะให้ผลตอบแทนสูงกว่า Bond ที่มีความน่าเชื่อถือสูง และเมื่อเกิดปัญหากับ Junk Bond ที่เกี่ยวข้องกับ Subprime ก็อาจทำให้มีการเทขาย Junk Bond ต่อเนื่องตามมา
                4. ปัญหา Junk Bond อาจส่งผลกระทบต่อเนื่องไปยังกองทุนส่วนบุคคล Private Equity Fund ที่ไปกู้เงินมาลงทุนที่อาจต้องเจริญรอยตามกองทุนเพื่อเก็งกำไร (Hedge Fund) ที่ถูกปิดไป
                   ทั้งหมดนี้ล้วนส่งผลทำให้เหมือนกับว่าเงินในกระเป๋าลดลงไปพร้อมกับความมั่นใจ และเกิดความไม่แน่ใจว่าทิศทางการลงทุนจะไปในทางไหน   สามารถควบคุมความเสียหายไม่ให้ขยายวงกว้างออกไปได้ ก็น่าจะทำให้บรรยากาศการลงทุนดีขึ้น ซึ่งถ้านักลงทุนโดยเฉพาะนักลงทุนไทยไม่ตกใจจนเกินไป ก็จะสามารถหาประโยชน์ได้ในช่วงสั้น ๆ เพราะสามารถทำกำไรในช่วงขาลงได้ สำหรับในระยะยาว พื้นฐานของสินค้าโภคภัณฑ์ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง คือขึ้นอยู่กับ Demand และ Supply ในตลาดโลกที่ยังไม่มีปัจจัยใหม่เข้ามาทำให้เชื่อได้ว่า การลงทุนในตลาดล่วงหน้ายังคงน่าสนใจอยู่

น.ส.ดวงฤทัย แสงสุวรรณ์ รหัส 49473120003

SUBPRIME CRISIS คือการให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์ที่ด้อยคุณภาพไม่มีประสิทธิภาพของประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งส่งผลกระทบไปถึงประเทศต่างๆทั่วโลก

ในมุมมองของนักวิชาการคิดว่าต้นตอนั้นเกิดจากวัฒนธรรมนิสัยการใช้จ่ายของคนสหรัฐที่ฟุ่มเฟือย หาซื้อสิ่งของด้วยการได้เงินมาจากการใช้สินทรัพย์ค้ำประกันใช้จ่ายเงินกู้ยืมมาสร้างความมั่งคั่งให้กับตัวเองแต่เมื่อมูลค่าอสังหาริมทรัพย์ที่พักอาศัยตกต่ำ ทำให้ผู้บริโภคไม่สามารถกู้ยืมได้อีกและเมื่อไม่มีงานทำผู้บริโภคก็ไม่มีเงินไว้ใช้จ่ายกลับกลายเป็นปัญหาทำให้คนไม่สามารถซื้อสินค้าได้ส่งผลให้จีดีพีของประเทศลดลง

 และเนื่องจากอเมริกาซื้อสินค้าจากทั่วโลกคิดเป็น 19%ของจีดีพีโลกถือว่ามากที่สุดในโลกและเมื่อความต้องการของผู้บริโภคในสหรัฐลดลง ทำให้ทั่วโลกย่อมได้รับผลกระทบตามไปด้วยรวมถึงส่งผลถึงประเทศไทยด้วยในด้านการส่งออกเนื่องจากผู้บริโภคไม่สามารถซื้อ ผู้ขายก็ไม่สามารถขายได้และยังทำให้ค่าเงินบาทแข็งตัวอันเป็นสาเหตุให้เกิดเงินเฟ้อได้

วิกฤตซับไพร์มเป็นอีกบทเรียนหนึ่งให้คนไทยหันมามองความเป็นจริงว่าอย่าทำเหมือนคนอเมริกาที่เอาแต่กู้เงินมาใช้ฟุ่มเฟือยใช้จ่ายเกินตัว ถ้าวิกฤตในไทยเมื่อปี40เรียกว่า ต้มยำกุ้ง CRISIS ดังนั้น SUBPRIME CRISIS ในสหรัฐก็น่าจะเรียกว่า HAMBURGER CRISIS
พรระวี แซ่อั้ง 49473120043

Subprime Crisis คือ การให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์ ที่ไม่มีประสิทธิภาพของสหรัฐอเมริกา  ซึ่งมีผลกระทบอย่างมากกับประเทศไทย โดยแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ

1.การเคลื่อนย้ายเงินทุน และสภาพคล่องของตลาดหุ้นไทย เพราะไทยเป็นหนึ่งในตลาดที่มีกองทุน และนักลงทุนต่างชาิติเข้ามาลงทุนโดยความผันผวนที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง จะส่งผลต่อบรรยากาศการลงทุนตลอด 6 เดือนแรกของปีนี้

2.พื้นฐานเศรษฐกิจของประเทศไทยและผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียน ซึ่งเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นในวงจำกัด โดยมองว่าสถานการณ์ทางการเมือง ได้คลี่คลายไปในทางที่ดีขึ้น เศรษฐกิจโดยรวมน่าจะได้รับการกระตุ้นจากรัฐบาลชุดใหม่ ขณะนี้ผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนน่าจะเติบโตไ้ด้ถึง 15.5% โดยเฉพาะในกลุ่มพนักงาน และธนาคารที่น่าจะขยายตัวได้ถึง 13% ขณะที่ภาคการส่งออกและอุตสาหกรรมอาจได้รับผลกระทบจากเงินบาทที่แข็งค่า และต้นทุนที่สูงขึ้น
นางสาวอนุสรา เอี๋ยวประเสริฐ รหัส 49473120033

ปัญหา subprime crisis ส่งผลให้ค่าเงินของสหรัฐ ลดลด จึงส่งผลกระทบให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นทำให้เงินสกุลบาทไทยเกิดแข็งค่าขึนมาทำให้ราคาสินค้าที่ประเทศไทยจะส่งออกทำให้ราคาสูงขึ้นเป็นผลทให้ต่างประเทศงดซื้อสินค้ากับไทยถึงเป็นว่าปัญหาที่เกิดขึ้นจะเป็นปัญหาทางอ้อมแต่ในอนาคตถ้ายังเป็นแบบนี้ต่อไปจะทำให้ประเทศไทยเกิดสภาพคล่องกับธุรกิจในประเทศก็ได้

ขอโทดนะค่ะที่ส่งงานช้า

นางสาวพิมศิริ ลาภโสภา รหัส 49473120024
subprime crisis เป็นปัญหาของการให้สินเชื่อสำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์กับลูกหนี้ที่มีคุณภาพต่ำที่เกิดขึ้นในสหรัฐ ฯซึ่ง เป็นประเทศที่มีตลาดใหญ่ในการส่งออกและทำการค้ากับประเทศต่างๆรวมทั้งไทย ซึ่ง subprime crsis ส่งผลให้ค่าของเงินดอลลาร์ลดลงเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นรวมทั้งส่งผลกระทบต่อค่าเงินบาทของไทยจึงส่งผลให้เงินของบาทแข็งค่าขึ้น ทำให้ภาคการส่งออกของประเทศได้รับผลกระทบจากการแข็งค่าของเงินบาทและก็จะส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย นอกจากนี้ยังส่งผลให้นักลงทุนในต่างประเทศเทขายหุ้นในประเทศทำให้ตลาดหุ้นมีการซื้อขายลดลง ปัญหาที่เกิดขึ้นนี้เป็นปัญหาทางอ้อม แต่ในอนาคตอาจจะดีกับประเทศไทยก็เป็นได้
น.ส. สุภาวรรณ จิแอ (49473120020)

SUBPRIME CRISIS คือ  การให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์ที่ด้อยคุณภาพไม่มีประสิทธิภาพของประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งส่งผลกระทบไปถึงประเทศต่างๆทั่วโลก จะมีผลกระทบต่อประเทศไทย ทำให้เงินบาทไทยแข็งค่าขึ้นส่งผลให้ผู้ส่งออกสินค้าประสบปัญหาเรื่องอัตราแลกเปลี่ยนเศรษฐกิจถดถอย นักลงทุนเทขายหุ้นกันมาก อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นปัญหาเหล่านี้เป็นปัญหาทางอ้อม แต่ประเทศไทยก็ควรเตรียมรับมือกับปัญหานี้เอาไว้ก็ดี

นางสาวพรรษสิริ นามมัน รหัส 49473120060 บริหารฯ(การเงิน 01)

ท่านคิดว่า  SUBPRIME CRISIS  กระทบไทยมากน้อยอย่างไร 

ตอบ   ข้าพเจ้าคิดว่าธุรกิจ SUBPRIME  CRISIS  มีผลกระทบต่อประเทศไทยเราเป็นอย่างมากเพราะเป็นการให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์ที่มีความเสี่ยงมาก  ไม่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งด้อยคุณภาพของประเทศยักษ์ใหญ่ของเราคือประเทศอเมริกาซึ่งได้ส่งผลกระทบกับเศรษฐกิจของทุกประเทศทั่วโลก  รวมทั้งประเทศไทยด้วยซึ่งเหตุการณ์ครั้งนี้ส่งผลให้ค่าเงินบาทของไทยเกิดการแข็งตัว  ทำให้เกิดผลกระทบกับธุรกิจส่งออกเป็นอย่างมาก  นักลงทุนขาดความเชื่อมั่นในสภาวะของสหรัฐอเมริกาทำให้พากันเทขายหุ้นกันเป็นจำนวนมาก  อัตราดอกเบี้ยมีการปรับตัวสูงขึ้น  ตอนนี้ประเทศไทยก็มีนายกฯคนใหม่แล้ว ก็หวังว่าเศรษฐกิจของไทยจะเคลื่อนตัวไปข้างหน้าอย่างเต็วตัวหลังจากย้ำอยู่กับที่มาเป็นเวลานาน  นักธุรกิจก็คงจะเกิดความเชื่อมั่นกับเศรษฐกิจของประเทศไทยเรามากขึ้นค่ะ.........................

นางสาวศิรินภา สุขแก้ว 49473120088
SUBPRIME CRISIS   คือการให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์ที่ด้อยคุณภาพไม่มีประสิทธิภาพของประเทศสหรัฐอเมริกาซึ่งส่งผลกระทบไปถึงประเทศต่างๆทั่วโลก  
ดังนั้นผลกระทบที่มีต่อประเทศไทยคือ ทำให้เกิดความเสี่ยงในส่วนของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และธุรกิจที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก  ทำให้ค่าเงินบาทเกิดการแข็งตัวเมื่อเทียบกับเงินดอลลาร์สหรัฐฯส่งผลให้เศรษฐกิจการส่งออกของไทยประสบปัญหาเป็นอย่างมาก  เนื่องจากนักลงทุนขาดความเชื่อมั่นในสภาวะทำให้นักลงทุนเทกันขายหุ้นกันเป็นอย่างมาก  อัตราดอกเบี้ยสูงขึ้นเศรฐกิจซบเซา  ดังเช่นไทยในปี  2540  ที่เกิดสภาวะฟองสบู่แตก  และคิดว่าถ้าประเทศไทยไม่เตรียมรับมืออาจทำให้เกิดปัญหานี้เป็นครั้งที่  2  ก็ได้  เนื่องจากคนไทยมีการใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟือยเกินความจำเป็น ในตอนนี้
อัญชลี อำพันพงษ์ 49473120089

 ขอโทษค่ะ!   ที่ส่งงานช้า

             Subprime Loan ก็คือเงินกู้ที่สถาบันการเงินปล่อยกู้แก่ผู้กู้ที่มีความเสี่ยงสูง และมักจะถูกปฎิเสธการให้กู้เงินจากสถาบันการเงินหลัก  เช่น ธนาคารพานิชย์    เงินกู้นี้อาจจะรวมถึงบัตรเครดิต เงินกู้ซื้อบ้าน และอื่นๆ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้น ณ   ขณะนี้เกิดจาก เงินกู้สำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์  

            การชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯอาจส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ในลักษณะเดียวกับโดมิโน ที่เมื่อสหรัฐฯไม่สามารถจัดการกับเศรษฐกิจของตัวเองได้ ก็จะทำให้การบริโภคภายในประเทศลดลง และทำให้การนำเข้าสินค้าจากประเทศต่าง ๆ ลดลงตามไปด้วย ซึ่งสหรัฐฯนำเข้าสินค้าจากทั่วโลกคิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 20%

            เช่นเดียวกับไทยที่มูลค่าการส่งออกสูงกว่า 65% ของ GDP ของประเทศจึงน่าจะได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และมีความเป็นไปได้ที่จะปรับลดการประมาณการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของการส่งออก

            ปัญหา Subprime เป็นสิ่งที่ลุกลากไปมากกว่าที่คาดกันไว้ แม้ในครั้งแรกทางการสหรัฐฯจะบอกว่าไม่จำเป็นต้องออกมาตรการพิเศษเพิ่มเติม แต่ในขณะนี้กลับเปลี่ยนไปในทางตรงข้าม โดยส่งสัญญาณว่าพร้อมที่จะทำทุกอย่างเพื่อแก้ปัญหานี้ การปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงครั้งนี้อาจต้องใช้เวลาอีกสักระยะจึงจะเห็นผลที่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตามหากปัญหาครั้งนี้เป็นปัญหาเศรษฐกิจก็คงจะใช้เวลาไม่นานในการแก้ปัญหา แต่ถ้าเป็นเรื่องของวิกฤติสถาบันการเงินจะต้องใช้เวลานานในการแก้ไขเพราะปัญหาจะลึกซึ้งกว่าที่คาดไว้ และมีความเป็นไปได้ที่ FOMC จะลดอัตราดอกเบี้ยลงอีกมากกว่า 1%

             เศรษฐกิจไทยไม่สามารถพึ่งพิงการส่งออกได้อีกต่อไป อีกทั้งการกระตุ้นการบริโภคของภาคประชาชนในภาวะที่ราคาน้ำมันแพงย่อมทำได้ยาก ขณะที่ผู้บริหารเศรษฐกิจของประเทศควรต้องมีศักยภาพในการตัดสินใจ สามารถสร้างความเชื่อมั่นในการนำพาประเทศฟันฝ่าวิกฤติครั้งนี้ไปให้ได้ เพราะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและส่งผลกระทบต่อเนื่องมายังประเทศไทย
             เราจะเห็นว่าปัญหา SUBPRIME  CRISIS  ของสหรัฐฯ ส่งผลกระทบแบบโดมิโน  โดยส่งกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของทุกๆชาติ  รวมทั้งประเทศไทยด้วย  ซึ่งปัญหาที่กล่าวข้างต้น จะเห็นว่าสหรัฐฯ นำเข้าสินค้าจากประเทศไทยน้อยลง   ซึ่งไทยมีสัดส่วนการส่งออกที่สูงมาก   ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อไทยในด้านการส่งออกเป็นอย่างมาก   และยังส่งผลกระทบถึงระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทยอีกด้วย   ทำให้เศรษฐกิจภายในประเทศชลอตัว   เนื่องจากการส่งออกที่น้อยลง

นางสาวเจษฎาภรณ์ วงศ์วุฒิ 49473120083
subprime crisisที่เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในที่สหรัฐฯคือการให้สินเชื่อของสหรัฐฯที่ด้อยคุณภาพส่งผลกระทบต่อทั่วโลกเป็นความเสี่ยงทำเกิดปัญหากับตลาดเงินและตลาดทุนและนักลงทุนต่างๆประสบปัญหาเดียวกันต่างพากันขายหุ้นในประเทศทำให้ตลาดหุ้นมีการซื้อขายลดลง อัตราดอกเบี้ยระหว่างประเทศสูงขึ้น และส่งผลให้เงินสกุลบาทของประเทศไทยแข็งค่าทำให้ราคาสินค้าภายในไทยได้ปรับราคาให้สูงขึ้นเพราะการส่งออกสินค้ามีราคาสูง  ขาดสภาพคล่อง  ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยในปัจจุบันและเศรษฐกิจหลายๆประเทศชะลอตัวและต่างประสบปัญหาที่แย่ลง
นางสาวจิราพร วงศ์วุฒิ รหัส 49473120085

Subprime crisis  คือ การให้สินเชื่อเพื่อการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์กับลูกค้าที่ด้อยคุณภาพและไม่มีประสิทธิภาพของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งส่งผลกระทบต่อหลายประเทศทั่วโลกรวมถึงประเทศไทยเราด้วย ทำให้ค่าเงินบาทแข็งค่าส่งผลให้ผู้ส่งออกสินค้าประสบปัญหาเรื่องอัตราการแลกเปลี่ยนเศรษฐกิจถดถอย นักลงทุนเทขายหุ้นในต่างประเทศทำให้ตลาดหุ้นมีการซื้อขายลดลง ส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นปัญหาต่อประชาชนเป็นอย่างมากและรัฐบาลชุดใหม่นี้ก็ต้องรีบเร่งแก้ปัญหาเช่นกัน

นางสาว พวงเพ็ชร กะการดี 49473120084

ขอโทษค่ะอาจารย์  ส่งงานช้า

subprime   เป็นปํญหาที่เกิดที่สหรัฐ   ซึ่งเกี่ยวกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และได้ส่งผลกระทบไปยัประเทศต่างๆทั่วทุกภูมิภาครวมถึงประเทศไทยด้วยและปัญหาที่สำคัญก็คือ เมือสหรัฐประสบปัญหาดังกล่าวจึงทำให้ค่าเงินของสหรัฐอ่อนลง  ประเทศไทยจึงประสบกับค่าเงินแข็งค่าและทำใธรกิจการส่งออกของไทยประสบปัญหาตามมาด้วย รวมถึงราคาสินค้าภายในประเทศก็มีการปรับให้สูงขึ้นอีกด้วย เศรษฐกิจมีการชลอตัว คาดสถาพคล่องมีการลงทุนเกี่ยวกับธุรกิจการส่งออกน้อยลง

นางสาวสุปราณี แสนทวีสุข รหัส 4943120014

 

 ขอโทษส่งงานช้าค่ะ

         Subprime Loan เป็นสินเชื่อประเภทหนึ่งของสหรัฐฯ ที่ให้เงินกู้กับผู้ขอสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์มากกว่าหรือเท่ากับมูลค่าของหลักทรัพย์ จากปกติจะให้สินเชื่อประมาณ 80% ของมูลค่าหลักทรัพย์เท่านั้น นอกจากนี้ถ้าราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น ผู้ขอสินเชื่อก็สามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมตามราคาหลักทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นมาได้

ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สินเชื่อ Subprime ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ เพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ขณะนี้ราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ปรับตัวลดลง ทำให้ธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ ต้องการเงินกู้คืนเพื่อป้องกันความเสี่ยง เมื่อผู้ขอสินเชื่อไม่มีเงินมาชำระ จึงกลายเป็นสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL)ตลาด Subprimeในธุรกิจสินเชื่อจึงมีความเสี่ยงที่สูงกว่า แต่ก็ให้อัตราผลตอบแทนแก่ผู้ให้กู้ในอัตราที่สูงกว่าตลาด Prime เช่นกัน โดยผู้กู้จะใช้ Subprime Mortgage หรือประเภทสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน ปัญหาที่เกิดขึ้นคือเมื่อผู้กู้เกิดปัญหาในการชำระหนี้ ส่งผลให้ผู้ให้กู้จำเป็นต้องประกาศชำระหนี้ของตนเอง โดยมีความต้องการที่จะชดใช้หนี้ด้วยการประกาศขายสินทรัพย์ที่เป็นอสังหาริมทรัพย์ในราคาที่ถูกกว่าราคาตลาด ทำให้มูลค่าหรือราคาอสังหาริมทรัพย์ดังกล่าวมีมูลค่าลดลงหรือต่ำกว่าราคาตลาด

ปัญหานี้เริ่มเกิดขึ้นในตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐฯ โดยฟองสบู่ของธุรกิจเกิดขึ้นในช่วงปี 2544-2548 ในแคลิฟอร์เนีย ฟลอริด้า นิวยอร์ค ซึ่งมีการปล่อยกู้สินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ที่ด้อยมาตรฐาน ด้วยการประเมินมูลค่าอสังหาฯ สูงเกินมูลค่าจริง โดยอ้างอิงถึงมูลค่าที่เพิ่มขึ้นในอนาคตเป็นเกณฑ์การให้สินเชื่อ และเมื่ออัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ไม่เป็นไปตามที่คาดการณ์จากจุดที่ใช้ประเมินมูลค่า ผู้กู้ไม่มีความสามารถในการชำระหนี้ Subprime ทำให้มูลค่าสินทรัพย์ที่ใช้เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกันนั้นถดถอยลงไปอีก จึงเกิดการปรับฐานของมูลค่าสินทรัพย์ครั้งสำคัญขึ้นในปี 2548


ผลกระทบจากมูลค่าสินทรัพย์ที่ลดลงในครั้งนั้น ได้ส่งผลถึงตลาดที่อยู่อาศัยของสหรัฐฯ ผู้ประกอบการที่อยู่อาศัย ผู้ประกอบการวัสดุก่อสร้าง ตลอดจนกองทุนเฮดจ์ฟันด์ในตลาดหุ้นวอลล์สตรีท ซึ่งถือหุ้นโดยนักลงทุนสถาบันรายใหญ่ต่างๆ และท้ายสุดคาดว่าจะส่งผลกระทบต่อการถดถอยของเศรษฐกิจในสหรัฐฯ ด้วย

นางสาวทัศนีย์ ภูศรีฤทธิ์ รหัส 49473120015
ปัญหา SUBPRIME  CRISIS  ของสหรัฐฯ ส่งผลกระทบแบบโดมิโน  โดยส่งกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของทุกๆชาติ  รวมทั้งประเทศไทยด้วย  ซึ่งปัญหาที่กล่าวข้างต้น จะเห็นว่าสหรัฐฯ นำเข้าสินค้าจากประเทศไทยน้อยลง   ซึ่งไทยมีสัดส่วนการส่งออกที่สูงมาก   ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อไทยในด้านการส่งออกเป็นอย่างมาก   และยังส่งผลกระทบถึงระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทยอีกด้วย   ทำให้เศรษฐกิจภายในประเทศชลอตัว   เนื่องจากการส่งออกที่น้อยลง
นางสาวสุขศิริ อาสา รหัส 49473120074

 ขอโทษค่ะ ที่ส่งงานช้า

             Subprime Loan ก็คือเงินกู้ที่สถาบันการเงินปล่อยกู้แก่ผู้กู้ที่มีความเสี่ยงสูง และมักจะถูกปฎิเสธการให้กู้เงินจากสถาบันการเงินหลัก  เช่น ธนาคารพานิชย์    เงินกู้นี้อาจจะรวมถึงบัตรเครดิต เงินกู้ซื้อบ้าน และอื่นๆ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้น ณ   ขณะนี้เกิดจาก เงินกู้สำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์  

            การชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯอาจส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ในลักษณะเดียวกับโดมิโน ที่เมื่อสหรัฐฯไม่สามารถจัดการกับเศรษฐกิจของตัวเองได้ ก็จะทำให้การบริโภคภายในประเทศลดลง และทำให้การนำเข้าสินค้าจากประเทศต่าง ๆ ลดลงตามไปด้วย ซึ่งสหรัฐฯนำเข้าสินค้าจากทั่วโลกคิดเป็นสัดส่วนสูงถึง 20%

            เช่นเดียวกับไทยที่มูลค่าการส่งออกสูงกว่า 65% ของ GDP ของประเทศจึงน่าจะได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ และมีความเป็นไปได้ที่จะปรับลดการประมาณการขยายตัวทางเศรษฐกิจและการขยายตัวของการส่งออก

            ปัญหา Subprime เป็นสิ่งที่ลุกลากไปมากกว่าที่คาดกันไว้ แม้ในครั้งแรกทางการสหรัฐฯจะบอกว่าไม่จำเป็นต้องออกมาตรการพิเศษเพิ่มเติม แต่ในขณะนี้กลับเปลี่ยนไปในทางตรงข้าม โดยส่งสัญญาณว่าพร้อมที่จะทำทุกอย่างเพื่อแก้ปัญหานี้ การปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงครั้งนี้อาจต้องใช้เวลาอีกสักระยะจึงจะเห็นผลที่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตามหากปัญหาครั้งนี้เป็นปัญหาเศรษฐกิจก็คงจะใช้เวลาไม่นานในการแก้ปัญหา แต่ถ้าเป็นเรื่องของวิกฤติสถาบันการเงินจะต้องใช้เวลานานในการแก้ไขเพราะปัญหาจะลึกซึ้งกว่าที่คาดไว้ และมีความเป็นไปได้ที่ FOMC จะลดอัตราดอกเบี้ยลงอีกมากกว่า 1%

             เศรษฐกิจไทยไม่สามารถพึ่งพิงการส่งออกได้อีกต่อไป อีกทั้งการกระตุ้นการบริโภคของภาคประชาชนในภาวะที่ราคาน้ำมันแพงย่อมทำได้ยาก ขณะที่ผู้บริหารเศรษฐกิจของประเทศควรต้องมีศักยภาพในการตัดสินใจ สามารถสร้างความเชื่อมั่นในการนำพาประเทศฟันฝ่าวิกฤติครั้งนี้ไปให้ได้ เพราะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและส่งผลกระทบต่อเนื่องมายังประเทศไทย
             เราจะเห็นว่าปัญหา SUBPRIME  CRISIS  ของสหรัฐฯ ส่งผลกระทบแบบโดมิโน  โดยส่งกระทบต่อเศรษฐกิจโดยรวมของทุกๆชาติ  รวมทั้งประเทศไทยด้วย  ซึ่งปัญหาที่กล่าวข้างต้น จะเห็นว่าสหรัฐฯ นำเข้าสินค้าจากประเทศไทยน้อยลง   ซึ่งไทยมีสัดส่วนการส่งออกที่สูงมาก   ปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบต่อไทยในด้านการส่งออกเป็นอย่างมาก   และยังส่งผลกระทบถึงระบบเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไทยอีกด้วย   ทำให้เศรษฐกิจภายในประเทศชลอตัว   เนื่องจากการส่งออกที่น้อยลง

นาย สัญชัย สุวรรณวงค์ รหัส 49473120072

      สำหรับผลกระทบต่อปัญหาSubprimeที่มีต่อเศรษฐกิจไทยมี 2 ด้าน คือ กระทบต่อการส่งออก เนื่องจากสหรัฐเป็นประเทศคู่ค้าสำคัญของไทย ดังนั้น การส่งออกไปสหรัฐคงจะลดลง และทำให้อัตราการขยายตัวของการส่งออกปีนี้ลดลง ซึ่งจะมีผลต่อเนื่องมาถึงอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยลงตาม เพราะภาคการส่งออกเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญที่สุด

        ปัญหา Subprime เป็นสิ่งที่ลุกลากไปมากกว่าที่คาดกันไว้ แม้ในครั้งแรกทางการสหรัฐฯจะบอกว่าไม่จำเป็นต้องออกมาตรการพิเศษเพิ่มเติม แต่ในขณะนี้กลับเปลี่ยนไปในทางตรงข้าม โดยส่งสัญญาณว่าพร้อมที่จะทำทุกอย่างเพื่อแก้ปัญหานี้ การปรับลดอัตราดอกเบี้ยลงครั้งนี้อาจต้องใช้เวลาอีกสักระยะจึงจะเห็นผลที่เกิดขึ้นจริง อย่างไรก็ตามหากปัญหาครั้งนี้เป็นปัญหาเศรษฐกิจก็คงจะใช้เวลาไม่นานในการแก้ปัญหา แต่ถ้าเป็นเรื่องของวิกฤติสถาบันการเงินจะต้องใช้เวลานานในการแก้ไขเพราะปัญหาจะลึกซึ้งกว่าที่คาดไว้ และมีความเป็นไปได้ที่ FOMC จะลดอัตราดอกเบี้ยลงอีกมากกว่า 1%

นาย ชัยวัฒน์ จันทสนธิ์ รหัส 49473120077

Subprime แยกออกเป็นสองคำ
Sub = ต่ำกว่า
Prime = มาจาก Prime Rate คือดอกเบี้ยเงินกู้ลูกค้าชั้นดี
ดังนั้น Subprime Loan ก็คือเงินกู้ที่สถาบันการเงินปล่อยกู้แก่ผู้กู้ที่มีความเสี่ยงสูง และมักจะถูกปฎิเสธการให้กู้เงินจากสถาบันการเงินหลัก เช่น ธนาคารพานิชย์
เงินกู้นี้อาจจะรวมถึงบัตรเครดิต เงินกู้ซื้อบ้าน และอื่นๆ แต่ปัญหาที่เกิดขึ้น ณ
ขณะนี้เกิดจาก เงินกู้สำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์

Subprime Loan เป็นสินเชื่อประเภทหนึ่งของสหรัฐฯ ที่ให้เงินกู้กับผู้ขอสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์มากกว่าหรือเท่ากับมูลค่าของหลักทรัพย์ จากปกติจะให้สินเชื่อประมาณ 80% ของมูลค่าหลักทรัพย์เท่านั้น นอกจากนี้ถ้าราคาอสังหาริมทรัพย์เพิ่มขึ้น ผู้ขอสินเชื่อก็สามารถขอวงเงินกู้เพิ่มเติมตามราคาหลักทรัพย์ที่เพิ่มขึ้นมาได้ ซึ่งในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา สินเชื่อ Subprime ได้ขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ได้เพิ่มสูงขึ้นมาก แต่ขณะนี้ราคาอสังหาริมทรัพย์ในสหรัฐฯ ได้ลดลง ทำให้ธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ ต้องการเงินกู้คืน เพื่อป้องกันความเสี่ยง เมื่อผู้ขอสินเชื่อไม่มีเงินมาชำระ จึงกลายเป็นสินเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL)

สาเหตุที่ทำให้ปัญหาสินเชื่อ Supprime ส่งผลกระทบไปทั่วโลก เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ของสหรัฐฯ มีการออกตราสารหนี้ที่เรียกว่า Collatteral Debt Obligation (CDO) โดยนำสินเชื่อ Subprime เป็นหลักทรัพย์ค้ำประกัน เมื่อราคาอสังหาริมทรัพย์ลดลง ก็มีผลให้มูลค่าของ CDO ลดลงตามไปด้วย และมีผลกระทบต่อเนื่องไปถึงผู้ที่ลงทุนใน CDO ซึ่งมีอยู่ทั่วโลก

ส่วนสาเหตุที่นักลงทุนนิยมเข้าไปลงทุนใน CDO เนื่องจากเป็นการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนสูง โดย CDO ที่มีอันดับเครดิตต่ำบางประเภท ให้ผลตอบแทนสูงถึง 10% ส่วน CDO ที่มีอันดับเครดิตที่ดี อัตราผลตอบแทนก็จะลดลงมา แต่ปัญหาของการลงทุนใน CDO คือ มีความเสี่ยงค่อนข้างสูง มีสภาพคล่องน้อย และไม่มีตลาดมารองรับในช่วงที่ผู้ถือหน่วยลงทุนต้องการขาย ทำให้ธนาคารพาณิชย์และกองทุนที่ลงทุนใน CDO ต้องนำเงินทุนมารับซื้อหน่วยลงทุนคืน
นางสาวนิษา สังสำราญ 49473120017
ขอโทษค่ะ ที่ส่งงานช้า ตลาดหุ้นทั่วโลกรวมถึงตลาดหุ้นไทยได้ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยมีสาเหตุหลักมาจากปัญหาสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ประเภทด้อยมาตรฐาน (Subprime Loan) ของสหรัฐอเมริกา subprime crisis จะมีผลกระทบกับประเทศไทยเนื่องจาก subprime crisis เป็นปัญหาของการให้สินเชื่อสำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์กับลูกหนี้ที่มีคุณภาพต่ำที่เกิดขึ้นในสหรัฐ ฯซึ่ง เป็นประเทศที่ถือได้ว่าเป็นตลาดใหญ่ในการส่งออกและทำการค้ากับประเทศต่างๆรวมทั้งไทย ซึ่ง subprime crsis ส่งผลให้ค่าของเงินดอลลาร์ลดลงเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นรวมทั้งค่าเงินบาทของไทยจึงส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นและก็จะส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย เนื่องจากการชลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯจะฉุดการขยายตัวของเศรษฐกิจในส่วนอื่นๆของโลกซึ่งส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพาสหรัฐฯในการส่งออกเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นจีนหรือญี่ปุ่น ให้ชลอตัวลงตามไปด้วยทำให้การส่งออกของไทยชลอตัวลง
น.ส.วิกานต์ดา ศรีเพ็ชร 49473120016

subprime crisis จะส่งผลกระทบกับประเทศไทยอย่างแน่นอนเนื่องจาก subprime crisis เป็นปัญหาของการให้สินเชื่อในสหรัฐอเมริกาสำหรับการซื้อบ้านและอสังหาริมทรัพย์กับลูกหนี้ที่มีคุณภาพต่ำ ที่เกิดขึ้นในสหรัฐ ฯ ซึ่งเป็นประเทศที่ถือได้ว่าเป็นตลาดใหญ่มาก ในการส่งออกและทำการค้ากับประเทศต่างๆรวมทั้งไทย ซึ่ง subprime crsis ส่งผลให้ค่าของเงินดอลลาร์ลดลงเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นรวมทั้งค่าเงินบาทของไทยจึงส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นและก็จะส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย เนื่องจากการชลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯจะฉุดการขยายตัวของเศรษฐกิจในส่วนอื่นๆของโลกซึ่งส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพาสหรัฐฯในการส่งออกเป็นหลักอยู่ ไม่ว่าจะเป็นไทย จีน หรือญี่ปุ่น ก็ตามแต่ หรืออาจจะทั่วโลกเยก็ได้ ทำให้ชลอตัวลงตามไปด้วยทำให้การส่งออกของไทย และประเทศต่าง ๆ ชลอตัวลง อย่างต่อเนื่อง

จากการสังเกตุ จะเห็นได้ว่าเป็นวิกฤตกาลที่น่าจับตามองเป็นพิเศษ เพราะเป็นวิกฤตกาลที่สำคัญของโลกอีกเรื่องหนึ่ง ที่เมื่อเกิดกับประเทศที่เป็นส่วนกลางต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นตลาดเงิน ตลาดส่งออก นำเข้า ทำให้เศรษฐกิจของทั่วโลกเกิดการฉลอตัวอย่างต่อเนื่อง ตลาดหุ้นทั่วโลกก็ได้รับผลกระทบเนื่องจากวิกฤตกาลนี้เช่นกันทำให้เกิดปัญหาอยู่ซักระยะหนึ่ง อีกไม่นานคงคลี่คลายได้ ให้เราทุกคนจับตามองวิกฤตกาลนี้ให้ดีด้วยคะ

น.ส.ศรีสุภางค์ แก้วผ่อง รหัส 49473120037

ขอโทษนะคะ !! ที่ส่งงานช้าไปมากๆ

SUBPRIME CRISIS  ส่งผลให้ค่าของเงินดอลลาร์ลดลงเมื่อเทียบกับเงินสกุลอื่นรวมทั้งค่าเงินบาทของไทยจึงส่งผลให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นและก็จะส่งผลกระทบต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย เนื่องจากการชลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯจะฉุดการขยายตัวของเศรษฐกิจในส่วนอื่นๆของโลกซึ่งส่วนใหญ่ยังต้องพึ่งพาสหรัฐฯในการส่งออกเป็นหลัก ไม่ว่าจะเป็นจีนหรือญี่ปุ่น ให้ชลอตัวลงตามไปด้วย รวมทั้งการส่งออกของไทยก็ชลอตัวลงด้วยเช่นเดียวกัน แต่ก็ไม่ถึงกับขั้นที่หยุดการส่งออกเลยเสียทีเดียว

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท