ไตวาย จำเป็นต้องตายไว ด้วยหรือไม่ : ทำอย่างไรจึงจะไม่ตายก่อนเวลาอันควร


เพื่อให้ทั้งผู้ป่วยและพยาบาลยังคงมีที่ยืนอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข ปราศจากการเผชิญหน้า ปราศจากความหวาดหวั่นใดๆ

บันทึกแรกขอชวนคิดชวนคุยด้วย กรณีศึกษา เพื่อเป็นการเปิดประเด็นปัญหาทางกฎหมาย และปัญหาในการประกอบวิชาชีพพยาบาล โดยที่ผมได้ยกเอาปัญาคดีความของทางต่างประเทศขึ้นมาเพื่อที่จะให้ ผู้สนใจเข้ามาร่วมการวิพากษ์ วิจารณ์ รวมทั้งเสนอแนะแนวทาง หรือหาทางออกร่วมกัน เพื่อให้ทั้งผู้ป่วยและพยาบาลยังคงมีที่ยืนอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข ปราศจากการเผชิญหน้า ปราศจากความหวาดหวั่นใดๆ ลองดูนะครับ

"ผู้ป่วยสูงอายุ เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลด้วยปัญหาทางการแพทย์หลายประการ ทั้ง โรคเบาหวาน  ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง  ตามัวจากเบาหวาน  ระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม  หลอดเลือดส่วนปลายเสื่อม และความดันโลหิตสูง  และสาเหตุสำคัญในการเข้าโรงพยาบาลในครั้งนี้ คือ ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดด้วยการล้างไตสำหรับโรคไตวายระยะสุดท้าย    

             ในระหว่างได้รับการล้างไตผู้ป่วยมีอาการสับสน จึงถูกแยกออกมาพักที่เตียงใกล้ๆ โต๊ะทำงานของพยาบาล  โดยไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยไว้   ต่อมาผู้ป่วยพยายามลูกขึ้นจากเตียง และตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก  จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก  ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ     ครอบครัวของผู้ป่วยจึงปรึกษาและขอให้ยุติการล้างไตไว้ก่อน   จนในที่สุดผู้ป่วยก็เกิดภาวะไตวาย  และเสียชีวิตในเวลาต่อมา"

ขอเปิดประเด็นแรกก่อน ครับ ว่า การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร 

 

หมายเหตุ

ที่ยกกรณีคดีต่างประเทศขึ้นมานั้นก็เพราะว่าเขามีการรวบรวมและก็ตีพิมพ์อย่างแพร่หลายครับ และหากจะถามว่าทำใมไม่ยกกรณีศึกษาของไทยขึ้นมาบ้าง ก็ต้องขอบอกว่าปัญหาของบ้านเรามันซุกอยู่ใต้พรมครับ จะมีแต่ผู้ประกอบวิชาชีพเท่านั้นที่เขารู้อยู่แก่ใจว่ามีมากน้อยแค่ใหนเพียงใดในแต่ละวัน และที่ปรากฎอยู่จริงๆก็ไม่อยากนำมากตอกย้ำให้เกิดเป็นประเด็นปัญหาวุ่นวายกันไปอีก เพราะแนวทางของผมคือ ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมยุติ-สงบ-จบลงด้วยความเป็นธรรม และ เพื่อให้ทั้งผู้ป่วยและพยาบาลยังคงมีที่ยืนอยู่ในสังคม อย่างมีความสุข ปราศจากการเผชิญหน้า ปราศจากความหวาดหวั่นใดๆ

link ที่เกี่ยวข้อง http://learners.in.th/blog/toplegal 

หมายเลขบันทึก: 154759เขียนเมื่อ 19 ธันวาคม 2007 15:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 20:42 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (68)

สวัสดีครับ

หากมองตามหลัก แห่งความประมาณความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่แล้ว คิดว่าพยาบาลก็มีส่วนผิดที่ปล่อยให้ผู้ป่วยตกเตียงครับ

หากมองถึงเจตนา แล้วคงต้องมองเห็นควมตั้งใจดี หรือความกรุณาของพยาบาลว่าเธอหลีกเลี่ยงที่จะมัดผู้ป่วยติดกับเตียง นี่ก็น่าชื่นชมเธอครับ

แต่สำหรับในบ้านเราแล้ว คงจะต้องใช้อีกมาตรฐานหนึ่ง ด้วยเหตุที่ว่าสัดส่วนจำนวนบุคลากรการพยาบาล ต่อจำนวนผู้ป่วยในบ้านเรานั้นยังต่ำอยู่ครับ

สวัสดีครับ คุณ P  paleeyon

เป็นความเห็นที่เปิดกว้าง น่าสนใจ เพราะมองปัญหามาหลายมุมดีครับ เช่น มุมมองเรื่องความบกพร่องในหน้าที่ ในขณะเดียวกันก็คิดถึงเรื่องสิทธิผู้ป่วย อันเป็นสิทธิมนุษยชนเรื่องการผูกมัด ในขณะเดียวกันยังคำนึงถึง เรื่องข้อเท็จจริงในระบบบริการอีกด้วย 

ต้องขอขอบคุณครับ

toplegal

สวัสดีค่ะ

แวะมาชม ขอเสนอแนะความคิดในฐานะผู้ปฏิบัติงาน

- เป็นความประมาทในการทำงาน หากเอาเรื่องทางด้านกฎหมายก็ได้ เพราะมีการเรียกร้องสิทธิ์ในสำนักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขาเปิดช่องทางไว้เหมือนกัน

-แต่คิดถึงอัตราการให้บริการถือว่ามีสัดส่วนบุคลากรและผู้รับบริการไม่สัมพันธ์หรืออีกนัยหนึ่งคือไม่เพียงพอ

สวัสดีครับคุณP เพชรน้อย

ยินดีรับฟังความเห็นครับ

ท่านแน่วแน่และกล้าหาญมากที่จะบอกว่า "เป็นความประมาทในการทำงาน หากเอาเรื่องทางด้านกฎหมายก็ได้ " ทั้งๆ ที่ ความเห็นจะเป็นไปในทางที่พยาบาลเสียเปรียบ และแม้ลึกๆในใจท่านจะเห็นว่าระบบสัดส่วนบุคลากรไม่สมดุลกับความต้องการของประชาชานก็ตาม แต่ท่านก็เลือกที่จะบอกเช่นนั้น นับว่าความยุติธรรมมีอยู่ในใจท่านแล้ว น่าจะเรียนกฎหมายได้ดีนะครับ (ยินดีให้คำแนะนำครับ หรือจะลองแวะมาเยี่ยมกันที่ http://learners.in.th/blog/toplegal ก่อนก็ได้ครับ)

อย่างไรก็ตามท่านยังมองกว้างและให้แนวทางกับประชาชนว่ามีช่องทางที่จะเยียวยาผู้ป่วยได้"สำนักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขาเปิดช่องทางไว้เหมือนกัน"

ครับถ้าหากท่านใดได้รับความเสียหายก็ลองมาถามไถ่วิธีการเรียกร้องเช่นว่านั้นได้ ผมยินดีเป็นสื่อให้อีกคน

 

toplegal

นายจักรพงษ์ สุทธิโส 2A

จากคำถาม การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร 
 1. การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิดครับ  

 เป็นความผิดกฎหมายทางอาญา


ความผิดฐานทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย
ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 307

 ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา  ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ
 ความเจ็บป่วย  กายพิการ หรือจิตพิการ   ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต  ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6
,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
องค์ประกอบความผิด
            1.มีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา  ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ
 ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือคนวิกลจริต
              2.ปล่อยปละละเลยผู้ป่วยผู้ป่วย
อ้างอิง
สภาการพยาบาล. (2541). กฎหมายกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์.พิมพ์ที่  เดอะเบท์   กราฟฟิคแอนด์  ปรินท์ .นมทบุรี

 2.น่าจะบุคลากรไม่พอ หรือมีบุคลกรเพียงพอ แต่ไม่ระมัดระวัง    น่าจะมีการผูกมัดไว้ก่อนเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย  และเป็นการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุดังกล่าวด้วยครับ

 

จากเคสนี้

หนูว่าพยาบาลมีความผิดค่ะ เพราะพยาบาลก็ทราบดีว่าผู้ป่วยมักจะมีอาการสับสน แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยไว้ อาจคิดว่าแยกมาพักที่เตียง ใกล้โต๊ะทำงานของตนแล้ว คงไม่เป็นไร ซึ่งเป็นการบกพร่องในหน้าที่ โดยการประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุให้ผู้ป่วยตกเตียง และการที่ผู้ป่วยมีแผลกดทับซึ่งลุกลามจนติดเชื้อ ถ้าเป็นเพราะพยาบาลดูแลได้ไม่ดีก็มีความผิดอีกนั่นแหละค่ะ แต่ถ้าพยาบาลดูแลอย่างดีที่สุด โดยไม่ขาดความรับผิดชอบ ก็ไม่ผิดค่ะ

สวัสดีค่ะ จากที่ว่าผู้ป่วยตกเตียงนั้น ซึ่งจนทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายถึงกับได้รับบาดเจ็บอย่างรุ้นแรง ทั้งๆที่พยาบาลรู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสนแต่เขากลับละเลยความรอบคอบส่วนตรงนี้ ที่จะไม่ผูกยึดผู้ป่วยไว้นั้น ซึ่งประเด็นนี้เป็นความผิดของพยาบาลโดยตรง แต่ถ้าเราลองมองหน้าที่การงานของพยาบาลโดยรวมแล้วค่อนข้างมากและมีพยาบาลน้อย ซึ่งส่วนนี้เขาอาจหลงลืมได้ เพราะเขาต้องดูเล ทำการรักษาผู้ป่วยท่านอื่นที่รีบด่วนจนเขาลืมผูกยึดผู้ป่วยรายนั้นได้

การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร

การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นหนูคิดว่าเป็นความผิดค่ะ เพราะพยาบาลก็รู้อยู่แล้วว่าผู้ป่วยมีอาการสับสนแต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยไว้กับเตียงซึ่งเป็นการบกพร่องในหน้าที่ โดยการประมาทเป็นเหตุให้ผู้ป่วยตกเตียง ส่วนเรื่องการที่ผู้ป่วยมีแผลกดทับในทางการพยาบาลนั้นทุกๆ2 ชั่วโมงต้องมาการผลิกตัวผู้ป่วยอยู่เสมอดังนั้นส่วนตรงนี้ดิฉันก็ไม่รู้ว่าพยาบาลคนนั้นดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดหรือเปล่า

นางสาวนาซีเราะห์ โตะเงาะ ชั้น 2CD2 เลขที่ 19

เป็นความผิดของพยาบาลค่ะ ที่มีความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก ไม่ต้องมีแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย และสามารถมีชีวิตอยู่ได้ต่อไป

จากเคสนี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307

“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

นอกจากนี้ผู้ป่วยผู้ป่วยยังผิดจริยธรรมวิชาชีพอีกหลายข้อ เช่น การไม่ทำอันตราย การทำประโยชน์เกื้อกูล เป็นต้น

จากคำถามการกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร

การที่ไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยไว้ ต่อมาผู้ป่วยพยายามลูกขึ้นจากเตียง และตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก และเกิด แผลกดทับที่ก้นกบของผู้ป่วย และการที่ผู้ป่วยนอนตกเตียง จนเสียชีวิตนั้น เป็นความผิดของพยาบาลคือ

หลักกฎหมาย : ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนาเว้นแต่จะได้กระทำความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิด เมื่อได้กระทำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา

มาตรา 291 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปี และปรับไม่เกินสองหมื่นบาท

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน -ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

- พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุภาพอนามัยของประชาชน

ตามข้อเท็จจริงแล้วพยาบาลผู้ดูแลจะต้องคอยดูแลพลิกตะแคงตัวเปลี่ยนท่าให้กับผู้ป่วยทุกๆ 2ชั่วโมงเนื่องจากผู้ป่วยจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และการปฏิบัติต่อผู้ป่วยนี้ก็เป็นบทบาทหน้าที่ที่พยาบาลพึงกระทำ หากพยาบาลผู้ดูแลได้กระทำการตามสมควรที่ควรพึงปฏิบัติแล้วอาจไม่มีการเกิดแผลดังกล่าวขึ้น ดังนั้น พยาบาลมีความผิดฐานกระทำโดยประมาทและการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 และมาตรา 291 และผิดหลักจริยธรรมในวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพด้วย

ยูวารีเย๊าะ ดอเล๊าะ 52 CD2

การกระทำของพยาบาล ถือว่าผิดทั้งในแง่จริยธรรมและกฏหมาย นั่นคือ

ทางด้านจริยธรรม พยาบาลผิดในด้านของความประมาท หลักของความไม่ซื่อสัตย์ ไม่มีความรอบคอบ รู้ทั้งรู้แล้วว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน แน่นอนว่าเสี่ยงที่จะต้องมีการตกเตียงแต่ก็ไม่ทำการผูกมัด แต่นำมาไว้ใกล้ ๆ โต๊ะทำงานแทน ซึ่งมันก็มีส่วนดีที่ว่าผู้ป่วยไม่ต้องถูกมัด แต่พยาบาลไม่ได้คำนึงตรงที่ว่าตนเองต้องมีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยคนอื่นอีก และไม่มีเวลาที่จะมาดูแลผู้ป่วยรายนี้ตลอดเวลา และต้องเดินไปที่อื่นไม่ใช่อยู่ที่โต๊ะทำงานตลอดเวลา จะเห็นว่าพยาบาลก็มีความระมัดระวัง แต่ยังไม่รอบคอบพอสำหรับผู้ที่เป็นพยาบาล

ทางด้านกฏหมาย แน่นอนถ้ามีการฟ้องร้องเกิดขึ้น จะมีความผิด ในเมื่อวันที่ตกเตียงนั้นพยาบาลไม่ได้ทำการผูกมัด ต้องไม่มีการบันทึกกิจกรรมการพยาบาลอยู่แล้ว จึงไม่มีหลักฐานที่เป็นพยานเอกสารมาช่วยยืนยันแทนได้

สรุปว่าพยาบาลผิดค่ะ

เป็นความผิดของพยาบาลอย่างแน่นอน ผิดทางด้านจริยธรรมวิชาชีพ พยาบาลคนนี้ขาดความระมัดระวัง ความรอบคอบ ทำให้ผู้ป่วยได้รับความความเสียหาย พยาบาลบกพร่องในหน้าที่ และยังทำผิดมาตรฐานวิชาชีพ รู้ทั้งรู้ว่าผู้ป่วยมีการสับสนซึ่งมีความเสี่ยงสูงในการตกเตียง พยาบาลก็ไม่ทำทำการยึดผู้ป่วยไว้กับเตียง ถึงแม้ว่าผู้ป่วยอยู่ใกล้กับห้องทำงานของตนเอง อุบัติเหตุจะเกิดขึ้นเมื่อไหร่ไม่สามารถรู้ได้ ดังนั้นพยาบาลจึงไม่ควรประมาท

การละเลยหน้าที่ของพยาบาลส่งผลให้ผู้ป่วยได้รับความเสียหาย ผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักจึงต้องระงับการล้างไตชั่วคราวเพื่อที่จะทำการผ่าตัด ซึ่งในที่สุดผู้ป่วยก็เสียชีวิตเนื่องจากหัวใจวาย จะเห็นได้ว่าผู้ป่วยต้องเสียชีวิตเนื่องจากการกระทำของพยาบาล

จากเหตุการณ์ ถึงแม้จะย้ายเตียงมาที่ใกล้โต๊ะพยาบาลก็จริงแต่พยาบาลก็ยังประมาทอยู่ดีเป็นเหตุให้คนไข้ได้รับอุบัติเหตุ ดังนั้นพยาบาลจึงมีความผิด

ตามหลักกฎหมาย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนาเว้นแต่จะได้กระทำความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิด เมื่อได้กระทำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

-ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

- พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุภาพอนามัยของประชาชน

กรณีแผลกดทับที่ก้นกบอาจเกิดจากการที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เป็นเหตุให้ต้องอยู่ในท่าเดียวเป็นระยะเวลานานๆ ซึ่งในข้อนี้ตามข้อเท็จจริงแล้วพยาบาลผู้ดูแลจะต้องคอยดูแลพลิกตะแคงตัวเปลี่ยนท่าให้กับผู้ป่วยทุกๆ 2ชั่วโมงเนื่องจากผู้ป่วยจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และการปฏิบัติต่อผู้ป่วยนี้ก็เป็นบทบาทหน้าที่ที่พยาบาลพึงกระทำ หากพยาบาลผู้ดูแลได้กระทำการตามสมควรที่ควรพึงปฏิบัติแล้วอาจไม่มีการเกิดแผลดังกล่าวขึ้น ดังนั้น พยาบาลมีความผิดฐานกระทำโดยประมาทและการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 และมาตรา 291 และผิดหลักจริยธรรมในวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพด้วย

นางสาวนิศามาศ อินทรชุมนุม เลขที่ 25 ห้อง 2CD1

จากเหตุการณ์ ถึงแม้จะย้ายเตียงมาที่ใกล้โต๊ะพยาบาลก็จริงแต่พยาบาลก็ยังประมาทอยู่ดีเป็นเหตุให้คนไข้ได้รับอุบัติเหตุ ดังนั้นพยาบาลจึงมีความผิด

ตามหลักกฎหมาย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 บุคคลจะต้องรับผิดในทางอาญาก็ต่อเมื่อได้กระทำโดยเจตนาเว้นแต่จะได้กระทำความโดยประมาท ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติให้ต้องรับผิด เมื่อได้กระทำโดยประมาท หรือเว้นแต่ในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไว้โดยแจ้งชัดให้ต้องรับผิดแม้ ได้กระทำโดยไม่มีเจตนา

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

-ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

- พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุภาพอนามัยของประชาชน

กรณีแผลกดทับที่ก้นกบอาจเกิดจากการที่ผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เป็นเหตุให้ต้องอยู่ในท่าเดียวเป็นระยะเวลานานๆ ซึ่งในข้อนี้ตามข้อเท็จจริงแล้วพยาบาลผู้ดูแลจะต้องคอยดูแลพลิกตะแคงตัวเปลี่ยนท่าให้กับผู้ป่วยทุกๆ 2ชั่วโมงเนื่องจากผู้ป่วยจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ และการปฏิบัติต่อผู้ป่วยนี้ก็เป็นบทบาทหน้าที่ที่พยาบาลพึงกระทำ หากพยาบาลผู้ดูแลได้กระทำการตามสมควรที่ควรพึงปฏิบัติแล้วอาจไม่มีการเกิดแผลดังกล่าวขึ้น ดังนั้น พยาบาลมีความผิดฐานกระทำโดยประมาทและการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 59 และมาตรา 291 และผิดหลักจริยธรรมในวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพด้วย

นางสาวโซฟียา เจะและ เลขที่112 ชั้น2CD1

จากคำถามการกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร

การที่ไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยไว้ ต่อมาผู้ป่วยพยายามลูกขึ้นจากเตียง และตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก และเกิด แผลกดทับที่ก้นกบของผู้ป่วย และการที่ผู้ป่วยนอนตกเตียง จนเสียชีวิตนั้น เป็นความผิดของพยาบาลคือ

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307

“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

การกระทำของพยาบาล ถือว่าผิดทั้งในแง่จริยธรรมและกฏหมาย นั่นคือ

ทางด้านจริยธรรม พยาบาลผิดในด้านของความประมาท หลักของความไม่ซื่อสัตย์ ไม่มีความรอบคอบ รู้ทั้งรู้แล้วว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน แน่นอนว่าเสี่ยงที่จะต้องมีการตกเตียงแต่ก็ไม่ทำการผูกมัด แต่นำมาไว้ใกล้ ๆ โต๊ะทำงานแทน ซึ่งมันก็มีส่วนดีที่ว่าผู้ป่วยไม่ต้องถูกมัด แต่พยาบาลไม่ได้คำนึงตรงที่ว่าตนเองต้องมีหน้าที่ดูแลผู้ป่วยคนอื่นอีก และไม่มีเวลาที่จะมาดูแลผู้ป่วยรายนี้ตลอดเวลา และต้องเดินไปที่อื่นไม่ใช่อยู่ที่โต๊ะทำงานตลอดเวลา จะเห็นว่าพยาบาลก็มีความระมัดระวัง แต่ยังไม่รอบคอบพอสำหรับผู้ที่เป็นพยาบาล

นางสาวอิบติซัน เจะและ เลขที่187 ห้อง2CD2

จากคำถาม การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร

1. การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิดค่ะ

เป็นความผิดกฎหมายทางอาญา

ความผิดฐานทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 307

“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

องค์ประกอบความผิด

1.มีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือคนวิกลจริต

2.ปล่อยปละละเลยผู้ป่วยผู้ป่วย

จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

-ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

- พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุภาพอนามัยของประชาชน

นายไพศาล มือสะ 2CD1 เลขที่ 42

การกระทำของพยาบาลนั้นถือว่ามีความผิด เนื่องจากว่าการที่พยาบาลปล่อยปะละเลยหน้าที่ของตนที่ควรปฏิบัติกับผู้ป่วยในเรื่องของการไม่ผูกยึดไว้จนทำให้ผู้ป่วยตกเตียงและเสียชีวิตในที่สุด ทั้งๆที่รู้ว่าผ้ป่วยมีความสับสน ซึ่งเป็นความประมาทและขาดความรอบคอบของพยาบาลเอง ดังนั้นทางที่ดีที่สุดคือต้องรู้จักหน้าที่ของตนเองไม่ตกอยู่ในความประมาท

การกระทำดังกล่าวของพยาบาล คิดว่ามีส่วนผิด เพราะพยาบาลปล่อยปละละเลยผู้ป่วยในการดูแลผู้ป่วย ไม่ระมัดระวังในการเกิดอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยซึ่งการกระทำที่แสดงถึงการปล่อยปละละเลยคือความประมาทที่ไม่ผูกผู้ป่วยไว้กับเตียงจึงทำให้ผู้ป่วยตกเตียง เกิดการบาดเจ็บขึ้นกับผู้ป่วย ซึ่งตรงกับ ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 300 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ และ

ประมวลกฎหมาย307ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญาต้องดูแลผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้ เพราะอายุ ความป่วยเจ็บ กายพิการหรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งพึ่งตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้ง จำทั้งปรับ

การกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด

เป็นความผิดกฎหมายทางอาญา

ความผิดฐานทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 307กล่าวว่า

ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

องค์ประกอบความผิดที่พยาบาลจะต้องปฎิบัติในการดูแลผู้ป่วย

1.มีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือคนวิกลจริต

2.ปล่อยปละละเลยผู้ป่วยผู้ป่วย

2.ถ้าบุคลากรไม่พอ หรือมีบุคลกรเพียงพอ แต่ไม่ระมัดระวัง ไม่ตระหนักในหน้าที่ก็ น่าจะมีการผูกมัดไว้ก่อนเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วย และเป็นการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุดังกล่าวด้วย

จากกรณีศึกษาดังกล่าวข้างต้นเป็นความผิดของพยาบาล ซึ่งทำการพยาบาลด้วยความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน แต่พยาบาลก็ไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยกับเตียงหรือพยาบาลเพียงคิดว่าได้นำผู้ป่วยมาอยู่ใกล้กับที่ทำงานของพยาบาลก็เลยลืมตระหนักส่วนนี้ไป โดยไม่คิดให้รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าหากผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก ไม่ต้องมีแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย

จากกรณีศึกษาดังข้างต้นเป็นความผิดตามมาตราดังต่อไปนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่ง ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

จากกรณีศึกษาดังกล่าวข้างต้นเป็นความผิดของพยาบาล ซึ่งทำการพยาบาลด้วยความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน แต่พยาบาลก็ไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยกับเตียงหรือพยาบาลเพียงคิดว่าได้นำผู้ป่วยมาอยู่ใกล้กับที่ทำงานของพยาบาลก็เลยลืมตระหนักส่วนนี้ไป โดยไม่คิดให้รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าหากผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก ไม่ต้องมีแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย

จากกรณีศึกษาดังข้างต้นเป็นความผิดตามมาตราดังต่อไปนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่ง ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

จากสถานการณ์ข้างต้นเป็นความประมาทเลิ่นเล่อของพยาบาลที่ขาดความระมัดระวังในการดูแลผู้ป่วย ซึ่งพยาบาลไม่ได้ตระหนักถึงความปลอดภัยในตัวของผู้ป่วย คิดว่าการที่นำผู้ป่วยมาอยู่ใกล้แล้วอาจไม่เกิดอันตราย แต่ผลกลับทำให้ผู้ป่วยต้องตกเตียงจนทำให้เกิดอันตรายแก่ผู้ป่วยคือผู้ป่วยตกเตียง สะโพกหัก และทำให้เกิดแผลกดทับ

ดังนั้นพยาบาลกระทำความผิดทางกฎหมายดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่ง ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

กลับขึ้นข้างบน ชื่อ:

การกระทำดังกล่าวเป็นความผิด เป็นความผิดกฎหมายทางอาญา

น่าจะเป็นความผิด

ความผิดฐานทอดทิ้งหรือปล่อยปละละเลยผู้ป่วย

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 307

“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

องค์ประกอบความผิด

1.มีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ที่ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย

2.ไม่ได้สนใจ ปล่อยปละละเลยผู้ป่วย

การกระทำดังกล่าวถือว่า ผิด เพราะพยาบาลเองก็รู้อยู่ทั้งรู้ว่า ผู้ป่วยมีอาการสับสน การที่พยาบาลไม่ผูกมัดนั้นอาจมีส่วนดีในส่วนที่ผู้ป่วยอาจไม่ต้องรู้สึกทรมานจากการผูกมัดแต่เนื่องด้วยสภาพความเจ็บป่วยของผู้ป่วย พยาบาลเองควรทราบถึงความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นต่อตัวของผู้ป่วย

ดังนั้นพยาบาลเองควรตระหนักว่า อะไรที่ตนเองควรกระทำเพื่อความปลอดภัยในชีวิตของผู้ป่วยมากที่สุด

ยังไงช่วยติ ความคิดเห็นของผมหน่อยน่ะคับ 2/2CD1

หากมองตามหลัก แห่งความประมาณความบกพร่องในการปฏิบัติหน้าที่แล้ว หนูคิดว่าพยาบาลก็มีส่วนผิดที่ปล่อยให้ผู้ป่วยตกเตียงค่ะ

หากมองถึงเจตนา แล้วคงต้องมองเห็นความตั้งใจดี หรือความกรุณาของพยาบาลว่าเธอหลีกเลี่ยงที่จะมัดผู้ป่วยติดกับเตียง นี่ก็น่าชื่นชมเธอนะค่ะ

แต่สำหรับในประเทศเราแล้ว คงจะต้องใช้อีกอย่างหนึ่ง ด้วยเหตุที่ว่าสัดส่วนจำนวนบุคลากรการพยาบาล ต่อจำนวนผู้ป่วยในบ้านเรานั้นยังต่ำอยู่นะค่ะ บางครั้งก้เห้นใจพยาบาลเหมือนกัน

การจากกระทำดังกล่าวของพยาบาล ถือว่าผิดโดยไม่เจตนา เนื่องจากว่า อาจเป็นความหวังดีของพยาบาลที่ไม่ต้องการให้ผู้ป่วยทรมานจากการที่จะต้องถูกผูกมัด แต่พยาบาลเองก็ควรที่จะต้องคำนึกถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นตามมาด้วย เหตุเพาะสภาพเจ็บป่วยของผู้ป่วย ณ ปัจจุบัน ที่มีอาการสับสน พยาบาลเองน่าจะรู้ถึงภาวะเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้นต่อตัวผู้ของผู้ป่วย

เป็นความผิดของพยาบาล ที่มีความประมาท ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก

จากเคสนี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 3 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นไม่ได้ระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็ไม่ได้ปฏิบัต ซึ่งจึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

เป็นความผิดของพยาบาลค่ะ ที่มีความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก ไม่ต้องมีแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย และสามารถมีชีวิตอยู่ได้ต่อไป

จากเคสนี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307

“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

นอกจากนี้ผู้ป่วยผู้ป่วยยังผิดจริยธรรมวิชาชีพอีกหลายข้อ เช่น การไม่ทำอันตราย การทำประโยชน์เกื้อกูล เป็นต้น

นางสาวฟาตีเมาะ แยนา ห้อง2CD2

เป็นความผิดของพยาบาลค่ะ ที่มีความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก ไม่ต้องมีแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย และสามารถมีชีวิตอยู่ได้ต่อไป

จากเคสนี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307

“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

นอกจากนี้ผู้ป่วยผู้ป่วยยังผิดจริยธรรมวิชาชีพอีกหลายข้อ เช่น การไม่ทำอันตราย การทำประโยชน์เกื้อกูล เป็นต้น

จากกรณีศึกษาคิดว่าพยาบาลมีความผิด ซึ่งจากกรณีนี้พยาบาลทำการพยาบาลด้วยความประมาทเลินเล่อ ขาดความ รอบคอบ ระมัดระวัง โดยพยาบาลรู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ไม่สามารถดูแลช่วยเหลือตัวเองได้ แต่ก็ยังไม่ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด และพยาบาลก็ไม่ได้มีการผูกยึดผู้ป่วยกับเตียงจนผู้ป่วยตกเตียง เกิดอันตรายแก่ร่างกายของผู้ป่วย โดยไม่คิดให้รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าหากผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก และเกิดแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม จนต้องยุติการล้างไต ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย

จากกรณ๊ดังกล่าว มีความผิดตามมาตราดังต่อไปนี้

- มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

- มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

จากการที่ได้อ่านกรณีศึกษาคิดว่าพยาบาลมีความผิดฐานประมาทเลิศเลอไม่ให้การพยาบาลตามหลักของวิชาชีพ คือรู้อยู่แล้วว่าผู้ป่วยมีอาการทางระบบประสาทอยู่ มีอาการสับสน กระวนกระวาย แต่พยาบาลก็ยังไม่มีวิธีการป้องกันผู้ป่วยจากอุบัติเหตุที่จะเกิด เช่นการอธิบายให้ญาติเข้าใจถึงอาการที่ผู้ป่วยเป็นอยู่และแนะนำญาติว่าหากไม่มีใครอยู่ให้ทำการผู้ยึดผู้ป่วยไว้กับไม้กั้นเตียง

จากสถาณการณ์ดังกล่าว มีความผิดในทางกฎหมายตามมาตราดังต่อไปนี้

- มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

- มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

เป็นความผิดของพยาบาล ที่มีความประมาท ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก

จากเคสนี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 3 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นไม่ได้ระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็ไม่ได้ปฏิบัต ซึ่งจึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

จากการที่ผู้ป่วยตกเตียงเป็นความผิดของพยาบาล เนื่องจากเป็นการกระทำที่ประมาทเลินเล่อ เพราะว่าพยาบาลก็รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน แต่ก็ไม่มีการ safe ผู้ป่วย

ส่วนเรื่องที่ผู้ป่วยเป็นแผลกดทับ ปกติแล้วพยาบาลมีหน้าที่ที่ต้องพลิกตะแคงผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมงเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ พยาบาลไม่ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมวิชาชีพและจรรยาบรรวิชาชีพ

ศิริลักษณ์ บุระตะ 2B

จากการวิเคราะห์สถานการณ์ดังกล่าวนะค่ะ ดิฉันมีความคิดเห็นว่าเป็นความผิดของพยาบาลในเรื่องของการทำงานที่ทำงานด้วยความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง ทำให้ผู้อื่นเกิดความเสียหาย อีกทั้งยังขาดความรับผิดชอบกับงานที่ตนได้รับมอบหมายไม่ปฏิบัติงานอย่างเต็มความรู้ความสามารถที่ได้ศึกษาเล่าเรียนมาโดยดูได้จากสถานการณ์ที่ว่า"ในระหว่างได้รับการล้างไตผู้ป่วยมีอาการสับสน จึงถูกแยกออกมาพักที่เตียงใกล้ๆ โต๊ะทำงานของพยาบาล โดยไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยไว้ ต่อมาผู้ป่วยพยายามลูกขึ้นจากเตียง และตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ"

จากคำสำคัญทั้งหมดนี้นะค่ะทำให้ทราบถึงการทำงานของพยาบาลที่ทำงานด้วยความประมาทเลิ่นเล่อ ขาดความรับผิดชอบ ทำให้ผู้ป่วยเป็นแผลตกจากเตียงกระดูกสะโพกหัก ต้องได้รับการผ่าตัด และยังทำให้เกิดแผลกดทับอีก สิ่งต่างๆเหล่านี้ล้วนแสดงให้เห็นถึงความผิดของพยาบาล แต่การที่ผู้ป่วยเสียชีวิตรจากการไม่ได้รับการฟอกไตนั้นไม่ใช่ความผิดของพยาบาลเพราะว่าเป็นสิ่งที่ญาติของผู้ป่วยเลือกที่จะไม่รับการฟอกไตซึ่งเป็นสิทธิของผู้ป่วยที่จะเลือกการรักษาแบบใดค่ะ

และจากสถานการณ์ดังกล่าวสามารถใช้หลักกฏหมายมาอ้างได้ดังนี้ค่ะ

1.มาตรา 59 "กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่"

2.มาตรา 300 "ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ"

3.มาตรา 307"ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"

4.มาตรา 390 "ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"

การกระทำดังกล่าวยังผิดกฏหมายเพ่งและพาณิชย์อีกด้วยตาม

มาตรา 420"ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น"

จากสถานการณ์ กฎหมายที่เกี่ยวข้องจะมีอยู่ด้วยกัน 2 ด้านด้วยกัน นั้นก็คือ

1.)กฎหมายทั่วไป ซึ่งได้แก่ กฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่งและพานิชญ์

2.)กฎหมายเฉพาะ นั้นก็คือ พ.ร.บ. วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์

ซึ่งเป็นบทบัญญัติ ตาม พ.ร.บ. วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 มีลักษณะเป็นการควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุง-ครรภ์ ที่กำหนดความสัมพันธ์ของหน่วยงานกับสมาชิกและราษฎรทั่วไป รวมทั้งกำหนดให้หน่วยงานมีอำนาจเหนือราษฎรทั่วไป รวมทั้งกำหนดให้หน่วยงานมีอำนาจเหนือราษฎรและสมาชิก

ซึ่งถ้าเราดูตามหลักกฎหมายทั่วไปแล้วนั้น ญาติผู้ป่วยน่าจะฟ้องพยาบาลทั้งทางอาญาและแพ่งที่เดียว เพราะว่าจากเหตุการณ์ ที่ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสนและตกจากเตียง เป็นเหตุให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก และต่อมายังเกิดแผลกดทับที่กระดูกก้นกบจนกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อนั้น ซึ่งในความเป็นจริงนั้นถ้าเราเป็นพยาบาลเราต้องประเมินได้ว่าผู้ป่วยโรคไต ทำการล้างไต ต้องมีภาวะสับสนแน่นอน เพราะฉะนั้นเราต้องให้การพยาบาลที่ปลอดภัยแก่ผู้ป่วยเพื่อนไม่ให้เกิดอันตราย เช่น ประเมินได้ว่าผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว มีอาการโวยวาย สับสน เราต้องยกไม้กั้นเตียงขึ้น ผูกข้อมือ เพื่อป้องกันผู้ป่วยตกเตียง แต่จากเหตุการณ์นั้นพยาบาลไม่ได้มีการทำพฤติกรรมดังกล่าวอีกทั้งยังปล่อยให้ผู้ป่วยเกิดแผลกดทับลุกลาม ซึ่งหากญาติผู้ป่วยจะฟ้องพยาบาลในทางอาญานั้นเห็นจะเป็นเรื่องยาก เพราะในทางอาญาต้องฟ้องพยาบาลให้รับผิดฐานทำร้ายร่างกายเป็นเหตุให้ได้รับอันตรายต่อร่างกาย ซึ่งจะไม่ได้ เพราะก่อนทำการรักษานั้นผู้ป่วยได้ให้มีการยินยอมการรักษาแล้ว ซึ่งความยินยอมนั้นเป็นเหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญาฐานทำร้ายร่างกาย แม้จะไม่มีการบัญญัติไว้ในกฎหมายใด แต่ความยินยอมในการรักษานี้เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปว่า ความยินยอมไม่ทำให้เป็นละเมิด “Volenti non fit injuria” ผู้ให้การรักษาพยาบาลจึงไม่มีความผิดฐานทำร้ายร่างกายโดยเจตนา

แต่ถ้าญาติผู้ป่วยจะฟ้องให้พยาบาลรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทน พยาบาลต้องรับผิดเพราะความยินยอมดังกล่าวมิได้หมายความรวมถึงยินยอมให้พยาบาลกระทำโดยประมาทเลินเล่อ

โดยทางกฎหมาย ความยินยอมของผู้ป่วย หลังจากที่ได้รับการบอกกล่าวอย่างเพียงพอแล้ว ( Informed Consent ) หากมีความเสียหายเกิดขึ้น จากการกระทำใดๆของผู้ประกอบวิชาชีพ ที่ได้กระทำตามหลักของวิชาชีพการพยาบาลแล้ว ย่อมทำให้พยาบาลมีสิทธิยกเอาความยินยอมนั้นขึ้นกล่าวอ้าง เป็นเหตุยกเว้นความรับผิดได้ เช่น คำพูดที่ว่าเราพลิกตะแคงตัวทุก 4 ชั่วโมง เป็นต้น แต่ความยินยอมนั้น หาได้หมายความรวมถึง ยินยอมให้กระทำโดยประมาทเลินเล่อไม่ เพราะผู้ป่วยมิได้ยินยอมให้เราทำอะไรที่เลอะเทอะ ผิดหลักการ ผิดมาตรฐาน แต่อย่างใด และถึงจะเขียนว่ายอมให้ทำเช่นนี้ได้ก็ขัดต่อความสงบและศีลธรรมอันดีของประชาชนและขัดต่อ พ.ร.บ. ข้อสัญญาที่ไม่เป็นธรรมอีกด้วย

แต่ญาติผู้ป่วยมีสิทธิกล่าวหาการประพฤติผิดจริยธรรมแห่งวิชาชีพต่อสภาการพยาบาลได้ ซึ่งการที่ผู้ป่วยเกิดแผลกดทับ เป็นการผิดจริยธรรมวิชาชีพ ตามข้อบังคับจริยธรรมข้อที่ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ ผู้เสียหายจึงมีสิทธิกล่าวหาว่าประพฤติผิดจริยธรรมได้

จาการอ่านสถานการณ์ คิดว่าเป็นความผิดของพยาบาล ที่มีความประมาท ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

ส่วนเรื่องที่ผู้ป่วยเป็นแผลกดทับ ปกติแล้วพยาบาลมีหน้าที่ที่ต้องพลิกตะแคงผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมงเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ พยาบาลไม่ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ

จากสถานการณ์ดังกล่าวดิฉันมีความคิดเห็นว่าการกระทำของพยาบาลมีความผิดฐานประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวังในการให้การพยาบาลผู้ป่วย ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง ซึ่งก็เป็นผลจากการกระทำโดยประมาททั้งสิ้นพยาบาลย่อมเล็งเห้นผลที่จะเกิดขึ้นอยู่แล้วแต่กลับไม่ระมัดระวังปล่อยปะละเลยจนทำให้ผู้ป่วยได้รับอันตรายอย่างแสนสาหัส

จากกรณีศึกษานี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307"ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"

กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

จากสถานการณ์ดังกล่าว มีความคิดเห็นว่า พยาบาลมีความผิดฐานประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวังในการปฎิบัติงานจนทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย โดยรู้ว่าผู้ป่วยมี อาการสับสน พยาบาลควรที่จะให้การพยาบาลอย่างรอบคอบ คือควรผูกยึดผู้ป่วยไว้เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้ป่วยและอธิบายให้ญาติผู้ป่วยทราบอาการของผู้ป่วยและเหตุผลที่ต้องผูกยึดผู้ป่วยไว้

และจากสถานการณ์ดังกล่าวสามารถใช้หลักกฏหมายมาอ้างอิงได้ดังนี้

1.มาตรา 59 "กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่"

2.มาตรา 300 "ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ"

3.มาตรา 307"ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"

4.มาตรา 390 "ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"

จากสถานการณ์ดิฉันคิดว่าพยาบาลมีการกระทำผิดด้วยความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวังรอบคอบในการปฏิบัติงานจนทำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลักซึ่งพยาบาลก็รู้อยู่แล้วว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ไม่สามารถดูแลช่วยเหลือตัวเองได้ แต่ก็ยังไม่ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด และพยาบาลก็ไม่ได้มีการผูกยึดผู้ป่วยกับเตียงจนผู้ป่วยตกเตียงซึ่งพยาบาลควรผูกยึดผู้ป่วยไว้กับเตียงโดยอธิบายและบอกเหตุผลให้ที่ต้องผูกยึดผู้ป่วยพร้อมทั้งบอกอาการให้กับญาติของผู้ป่วยทราบ

ถ้าหากผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก และเกิดแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม จนต้องยุติการล้างไต ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ แล้วไม่เกิดภาวะไตวาย

จากกรณีศึกษานี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 "กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่"

2.มาตรา 300 "ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ"

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

จากสถานการณ์นี้ดิฉันมีความเห็นว่าการที่ผู้ป่วยตกเตียง เกิดแผลกดทับ เป็นความประมาทเลินเล่อของพยาบาล ซึ่งตามหลังของวิชาชีพแล้วหากทำการพยาบาลตามแบบแผนการพยาบาลก็จะไม่ทำให้เกิดปัญหาเหล่านี้ ซึ่งขั้นตอนการพยาบาลตามแบบแผนมีไว้เพื่อป้องกันอันตรายกับผู้ป่วยอย่างครอบคลุมอยู่แล้ว แต่พยาบาลกลับปล่อยละเลยไม่เห็นความสำคัญของแบบแผนการพยาบาล จึงทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายได้

จากสถานการณ์ดังกล่าวสามารถใช้หลักกฏหมายมาอ้างได้ดังนี้

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 59 "กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่"

จากคำถามที่ว่าการกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร

ตอบ จากการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น การกระทำดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงขาดจริยธรรมดังนี้

ด้านความรับผิดชอบ

- พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชน ผู้ต้องการการพยาบาลและบริการสุขภาพทั้งต่อปัจเจก บุคคล ครอบครัว ชุมชน และระดับประเทศ ในการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันความเจ็บป่วยการฟื้นฟูสุขภาพและการบรรเทาความทุกข์

- พยาบาลยึดหลักความยุติธรรมและความเสมอภาคในสังคมมนุษย์ ร่วมดำเนินการเพื่อช่วยให้ประชาชนที่ต้องการบริการสุขภาพได้รับความช่วยเหลือดูแลอย่างทั่วถึง และดูแลให้ผู้ใช้บริการได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมกับความต้องการอย่างดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ด้วยความเคารพในคุณค่าชองชีวิต ศักดิ์ศรี สิทธิในการมีความสุขของบุคคลอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่จำกัดด้วยชั้นวรรณะเชื้อชาติศาสนาเศรษฐานะ เพศ วัย กิตติศัพท์ ชื่อเสียง สถานภาพ ในสังคมและโรคที่เป็น

- พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

- พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

- หลักการทำประโยชน์ บรรเทาอาการ ดูแลความสุขสบาย ระวังอันตรายที่จะเกิดและไม่สร้างทุกข์ให้

จากสถานการณ์นั้นพยาบาลไม่มีการผูกยึดผู้ป่วย และผู้ป่วยตกเตียงซึ่งผู้ป่วยมีอาการสับสนอยู่แล้วแสดงในเห็นถึงการขาดความระมัดระวัง ประมาท ละเลยต่อหน้าที่อันควรปฏิบัติ

ส่วนการเกิดแผลกดทับตามมาตรฐานวิชาชีพต้องมีการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง

ซึ่งพยาบาลมีวิสัยและพฤติการณ์เช่นนั้นและอาจใช้ความระมัดระวังได้แต่ ไม่ได้ใช้อย่างเพียงพอ

ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 59 วรรค 4 "กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่"

มาตรา 291 ผู้ใดกระทำโดยประมาทและการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปีและปรับไม่เกินสองหมื่นบาท

มาตรา 300 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัสต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดีแก่ร่างกายก็ดีอนามัยก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดีท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

จากสถานการณ์ข้าพเจ้าคิดว่าพยาบาลมีความผิด มีความประมาทในการปฏิบัติงาน ไม่ระมัดระวัง ไม่คำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย ซึ่งถือว่ามีความผิดตามประมวลกฏหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

นอกจากนี้พยาบาลยังกระทำผิดหลักจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550

ข้อที่ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ

ผิดหลักจริยธรรมที่ว่า

- พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

- พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

ข้าพเจ้าคิดว่าขณะที่ผู้ป่วยมีอาการสับสนพยาบาลควรจะบอกผู้ป่วยให้ทราบในการที่จะขออนุญาตในการผูกมัดผู้ป่วยไว้ เพื่อให้ได้ระงับสติอารมณ์ เอาไม้คั่นเตียงผู้ป่วยขึ้น และคอยดูแลอาการอย่างใกล้ชิด ส่วนการเกิดแผลกดทับตามมาตรฐานวิชาชีพการพยาบาลต้องมีการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง อยู่แล้ว แต่พยาบาลก็มิได้กระทำตามอย่างเคร่งครัด พยาบาลควรดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุดอย่างเต็มความสามารถของพยาบาลทั้งนี้ก็เพืความปลอดภัยในชีวิตของผู้ป่วย

เพชรวไล แพพ่วง 42/2A รุ่น 38

ผิดเนื่องจากเป็นการประมาททำให้ผู้อื่นได้รับบาดเจ็บ ตามมาตตราดังนี้

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึง แก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 59 "กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่"

จากการที่ทำให้เกิดแผลกดทับ พยาบาลไมไฃ่ได้ประพฤิตตามวิสัยขิงพยาบาลที่ต้องพลิกตะแคงตัว

ผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง นอกจากนี้จะยังต้อง ชดใช้ค่าสินไหมด้วย

นันทวัน นิ่มพันธุ์เลขที่29ห้อง2A

จากสถานการณ์ข้างต้น ผู้ป่วยมีโรคทางกายหลายประการ ครั้งนี้มารับการรักษาด้วยการล้างไตในภาวะไตวาย เป็นที่แน่นอนอยู่แล้วว่าผู้ป่วยไตวายอาจมีอาการสับสน และครั้งนี้ในระหว่างได้รับการล้างไตผู้ป่วยมีอาการสับสน จึงถูกแยกออกมาพักที่เตียงใกล้ๆ โต๊ะทำงานของพยาบาล โดยไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยไว้ ต่อมาผู้ป่วยพยายามลูกขึ้นจากเตียง และตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ

เมื่อผู้ป่วยอยู่ในการดูแลของพยาบาล ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการดูแลอย่างถึงที่สุด และพยาบาลก็ต้องมีหน้าที่ที่ต้องดูแลผู้ป่วยเช่นกัน ในกรณีนี้ แสดงให้เห็นถึงความประมาทเลินเล่อของพยาบาลที่ไม่ได้ผูกยึดและไม่รอบคอบ ไม่ได้คำนึงถึงการป้องกันอันตรายให้กับผู้ป่วย

ภายหลังผ่าตัดเกิดแผลกดทับแสดงให้เห็นความไม่รับผิดชอบและไม่ใส่ใจ ตามมาตรฐานวิชาชีพต้องมีการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมงซึ่งถ้าพยาบาลมีวิสัยและพฤติการณ์เช่นนั้นคงไม่เกิดแผลกดทับ

ความผิดที่ได้รับ

ความผิดตามประกวลกฎหมายอาญา

- มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

- มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ความผิดตาม กฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

จากการที่ได้อ่านศึกษาดูแล้ว หนูคิดว่าพยาบาลมีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนทำให้ผู้อื่นได้รับความบาดเจ็บ คือผู้ป่วยมีอาการสับสนอยู่แล้ว ควรที่จะระมัดระวังให้มากกว่านี้ ควรจะทำการให้รอบคอบ

แต่การที่ผู้ป่วยเสียชีวิตนั้นไม่ใช่ความผิดของพยาบาลค่ะ เพราะว่าการเลือกรักษานั้นขึ้นอยู่กับผู้ป่วยหรือญาติ และในกรณีนี้ญาติผู้ป่วยเป็นผู้เลือกที่จะยังไม่ทำการรับการฟอกไตเองค่ะ การเสียชีวิตของผู้ป่วยนั้นจึงมาจากการไม่ได้รับการรักษาโดยการฟอกไตค่ะ กฏหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องมีดังนี้ค่ะ

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 3 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นไม่ได้ระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็ไม่ได้ปฏิบัต ซึ่งจึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

สุทธินี เกษศิลป์ 78/ 2A รุ่น 38

จากสถานการณ์ดังกล่าวผู้ป่วย ต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด เนื่องจากเป็นไตวายระยะสุดท้าย ในระหว่างได้รับการล้างไตผู้ป่วยมีอาการสับสน จึงถูกแยกออกมาพักที่เตียงใกล้ๆ โต๊ะทำงานของพยาบาล โดยไม่มีการผูกยึดผู้ป่วยไว้ ต่อมาผู้ป่วยพยายามลูกขึ้นจากเตียง และตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ

พยาบาลจะต้องได้รับโทษ เนื่องจากการกระทำของพยาบาลมีความผิดปล่อยให้ผู้ป่วยตกเตียงตาม

1. ปอ.ม.59“ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 307"ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ"

3.มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึง แก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

นอกจากนี้ยังผิดจริยธรรม คือ พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

การพยาบาทคนไข้ที่มีอาการสับสนควรได้รับการผูกมัด หรือยกไม้กั้นเตียงขึ้นเพื่อป้องกันอันตราย

และทุก ๆ2 ชั่วโมงควรต้องมีการพลิกตะแคงตัวให้

ในความคิดคิดว่าไม่น่ามีความผิด เพราะพยาบาลไม่ได้ตั้งใจ แต่ในทางกฎหมายมีความผิดคือ

- มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

- มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

จากกรณีศึกษาพยาบาลก็รู้อยู่ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ถึงแม้จะถูกแยกออกมาพักที่เตียงใกล้ๆ โต๊ะทำงานของพยาบาล แต่ก็ควรที่จะผูกมัดเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น แต่พยาบาลหาทำไม่ ต่อมาผู้ป่วยตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ทำให้ต้องยืดระยะเวลาการรักษาต่อไปอีก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ

ดังนั้นพยาบาลมีความผิด

-ฐานทำการโดยประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย นั้นคือ การที่ทำให้ผู้ป่วยตกเตียง และยังมีแผลกดทับเกิดขึ้นอีก

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วย สังคม ในกรณีที่มีการให้บริการสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยถูกกระทำการที่อาจเกิดจากความไม่รู้ ขาดศีลธรรม จริยธรรม หรือการกระทำที่ผิดกฎหมายจากบุคคลหนึ่งบุคคลใด

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

ข้อ 1. ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

ข้อ 5. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยอย่างเหมาะสมแก่สภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน

ข้อ 6. พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อวิชาชีพ

ข้อ 1. พึงตระหนักและถือปฏิบัติในหน้าที่ความรับผิดชอบตามหลักการแห่งวิชาชีพการพยาบาล

ข้อ 2. พัฒนาความรู้และวิธีปฏิบัติให้ได้มาตรฐานแห่งวิชาชีพ

-ผิดตามประกวลกฎหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

-ผิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

-ผิดหลักจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550

ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ

-ผิดหลักจริยธรรมที่ว่า

พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

เป็นความผิดของพยาบาล ที่มีความประมาท ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก

จากเคสนี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 3 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นไม่ได้ระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็ไม่ได้ปฏิบัต ซึ่งจึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

จากกรณีศึกษานั้น การที่ผู้ป่วยตกเตียงนั้นเป็นความผิดของพยาบาลฐานประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอในการดูแลผู้ป่วย โดยดูได้จากการที่ผู้ป่วยมีอาการสับสนจากการล้างไต พยาบาลจึงแยกผู้ป่วยมาพักใกล้ๆโต๊ะทำงานของพยาบาล แต่ไม่ได้มีการผูกยึดผู้ป่วยทั้งๆที่ผู้ป่วยมีอาการสับสนอยู่ จึงเป็นเหตุให้ผู้ป่วยตกเตียงทำให้กระดูกสะโพกหักและต้องได้รับการรักษาและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ ทำให้ครอบครัวและญาติต้องตกลงยุติการล้างไตของผู้ป่วยไว้ก่อนทำให้เกิดไตวายและเสียชีวิตต่อมา....

ส่วนสำหรับเรื่องการยุติเรื่องการล้างไตไว้ก่อนนั้นไม่ใช่ความผิดของพยาบาลแต่เป็นสิทธิของผู้ป่วยและญาติที่จะเลือกรับการรักษาหรือจะยุติการรักษาใดก็ได้

พยาบาลมีความผิดตามประมวลกฏหมายดังนี้......

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

.....................................................

รัชฎากรณ์ 2B เลขที่48

จากสถานการณ์พยาบาลมีความผิดฐานทำการโดยประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุทำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายทั้งต่อร่างกายและชีวิต ตามมาตราประมวลกฏหมายอาญาดังต่อไปนี้

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดย พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

พยาบาลมีความผิดทั้งทางด้านจริยธรรมและกฎหมาย

- ทางด้านจริยธรรม คือ การรับผิดชอบต่อหน้าที่ การดูแลผู้ป่วยด้วยความเอาใจใส่ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายมา

- ทางด้านกฎหมาย มีความผิดโทษฐานประมาทเลินเล่อตามมาตรา ดังนี้

มาตรา 59 กระทำโดยประมาท ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง

มาตรา 307 ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 300 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

และในการเกิดแผลกดทับนั้นก็เกิดจากการที่พยาบาลมีความบกพร่องในการดูแลผู้ป่วยขาดความรับผิดชอบก็มีความทางกฎหมายและกฎของจริยธรรม

ยุพดี ทีปะลา เลขที่ 47 2B

พยาบาลมีความผิดทั้งทางด้านจริยธรรมและกฎหมาย

-ทางด้านจริยธรรม คือ การรับผิดชอบต่อหน้าที่ การดูแลผู้ป่วยด้วยความเอาใจใส่ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายมา

-ทางด้านกฎหมาย มีความผิดโทษฐานประมาทเลินเล่อตามมาตรา ดังนี้

มาตรา 59 กระทำโดยประมาท ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง

มาตรา 307 ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 300 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

และในการเกิดแผลกดทับนั้นก็เกิดจากการที่พยาบาลมีความบกพร่องในการดูแลผู้ป่วยขาดความรับผิดชอบก็มีความทางกฎหมายและกฎของจริยธรรม

จากกรณีศึกษา

เป็นความผิดของพยาบาลค่ะ ที่มีความประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ระบบประสาทส่วนปลายเสื่อม ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก ไม่ต้องมีแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย และสามารถมีชีวิตอยู่ได้ต่อไป

จากเคสนี้ เป็นความผิดที่สามารถยกมาตราจากการประมวลกฎหมายอาญาได้ดังนี้

1.มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

2.มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

3.มาตรา 307

“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ

ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

4.มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

จาการอ่านสถานการณ์ คิดว่าเป็นความผิดของพยาบาล ที่มีความประมาท ขาดความระมัดระวัง ทั้งๆที่รู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ต้องดูแลผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด แต่พยาบาลก็ไม่ผูกยึดผู้ป่วยกับเตียง เพียงเพราะพยาบาลอาจจะคิดว่า ผู้ป่วยมาพักที่เตียงใกล้ๆที่ทำงานของตน จึงน่าจะไม่มีอะไรเกิดขึ้น โดยไม่รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก

การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

ส่วนเรื่องที่ผู้ป่วยเป็นแผลกดทับ ปกติแล้วพยาบาลมีหน้าที่ที่ต้องพลิกตะแคงผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมงเนื่องจากผู้ป่วยไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ พยาบาลไม่ปฏิบัติตามหลักจริยธรรมวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ

จากคำถามที่ว่าการกระทำดังกล่าวของพยาบาลนั้นเป็นความผิด หรือไม่อย่างไร

ตอบ จากการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้น การกระทำดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงขาดจริยธรรมดังนี้

ด้านความรับผิดชอบ

- พยาบาลรับผิดชอบต่อประชาชน ผู้ต้องการการพยาบาลและบริการสุขภาพทั้งต่อปัจเจก บุคคล ครอบครัว ชุมชน และระดับประเทศ ในการสร้างเสริมสุขภาพการป้องกันความเจ็บป่วยการฟื้นฟูสุขภาพและการบรรเทาความทุกข์

- พยาบาลยึดหลักความยุติธรรมและความเสมอภาคในสังคมมนุษย์ ร่วมดำเนินการเพื่อช่วยให้ประชาชนที่ต้องการบริการสุขภาพได้รับความช่วยเหลือดูแลอย่างทั่วถึง และดูแลให้ผู้ใช้บริการได้รับการช่วยเหลือที่เหมาะสมกับความต้องการอย่างดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ด้วยความเคารพในคุณค่าชองชีวิต ศักดิ์ศรี สิทธิในการมีความสุขของบุคคลอย่างเท่าเทียมกันโดยไม่จำกัดด้วยชั้นวรรณะเชื้อชาติศาสนาเศรษฐานะ เพศ วัย กิตติศัพท์ ชื่อเสียง สถานภาพ ในสังคมและโรคที่เป็น

- พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

- พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

- หลักการทำประโยชน์ บรรเทาอาการ ดูแลความสุขสบาย ระวังอันตรายที่จะเกิดและไม่สร้างทุกข์ให้

จากสถานการณ์นั้นพยาบาลไม่มีการผูกยึดผู้ป่วย และผู้ป่วยตกเตียงซึ่งผู้ป่วยมีอาการสับสนอยู่แล้วแสดงในเห็นถึงการขาดความระมัดระวัง ประมาท ละเลยต่อหน้าที่อันควรปฏิบัติ

ส่วนการเกิดแผลกดทับตามมาตรฐานวิชาชีพต้องมีการพลิกตะแคงตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมง

ซึ่งพยาบาลมีวิสัยและพฤติการณ์เช่นนั้นและอาจใช้ความระมัดระวังได้แต่ ไม่ได้ใช้อย่างเพียงพอ

ประมวลกฎหมายอาญาที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 59 วรรค 4 "กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวังซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่"

มาตรา 291 ผู้ใดกระทำโดยประมาทและการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตายต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบปีและปรับไม่เกินสองหมื่นบาท

มาตรา 300 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัสต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ที่เกี่ยวข้อง

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อ ทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดีแก่ร่างกายก็ดีอนามัยก็ดีเสรีภาพก็ดีทรัพย์สินหรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดีท่านว่าผู้นั้นทำละเมิดจำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

จากการที่ได้อ่านศึกษาดูแล้ว หนูคิดว่าพยาบาลมีความผิดฐานกระทำโดยประมาทเลินเล่อ จนทำให้ผู้อื่นได้รับความบาดเจ็บ คือผู้ป่วยมีอาการสับสนอยู่แล้ว ควรที่จะระมัดระวังให้มากกว่านี้ ควรจะทำการให้รอบคอบ

แต่การที่ผู้ป่วยเสียชีวิตนั้นไม่ใช่ความผิดของพยาบาลค่ะ เพราะว่าการเลือกรักษานั้นขึ้นอยู่กับผู้ป่วยหรือญาติ และในกรณีนี้ญาติผู้ป่วยเป็นผู้เลือกที่จะยังไม่ทำการรับการฟอกไตเองค่ะ การเสียชีวิตของผู้ป่วยนั้นจึงมาจากการไม่ได้รับการรักษาโดยการฟอกไตค่ะ กฏหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องมีดังนี้ค่ะ

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 3 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นไม่ได้ระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็ไม่ได้ปฏิบัต ซึ่งจึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต การกระทำโดยประมาท นอกจากจะมีความผิดตามกฎหมายอาญาแล้ว ยังมีความผิดตามกฎหมายแพ่งอีกด้วย ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพ อาจต้องรับผิดฐานละเมิด ตามบทบัญญัติประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 420

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

พยาบาลมีความผิดทั้งทางด้านจริยธรรมและกฎหมาย

-ทางด้านจริยธรรม คือ การรับผิดชอบต่อหน้าที่ การดูแลผู้ป่วยด้วยความเอาใจใส่ ตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายมา

-ทางด้านกฎหมาย มีความผิดโทษฐานประมาทเลินเล่อตามมาตรา ดังนี้

มาตรา 59 กระทำโดยประมาท ได้แก่ กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวัง

มาตรา 307 ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 300 ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ

มาตรา 420 ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น

และในการเกิดแผลกดทับนั้นก็เกิดจากการที่พยาบาลมีความบกพร่องในการดูแลผู้ป่วยขาดความรับผิดชอบก็มีความทางกฎหมายและกฎของจริยธรรม

จากกรณีศึกษาพยาบาลก็รู้อยู่ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ถึงแม้จะถูกแยกออกมาพักที่เตียงใกล้ๆ โต๊ะทำงานของพยาบาล แต่ก็ควรที่จะผูกมัดเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น แต่พยาบาลหาทำไม่ ต่อมาผู้ป่วยตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ทำให้ต้องยืดระยะเวลาการรักษาต่อไปอีก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ

ดังนั้นพยาบาลมีความผิด

-ฐานทำการโดยประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย นั้นคือ การที่ทำให้ผู้ป่วยตกเตียง และยังมีแผลกดทับเกิดขึ้นอีก

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วย สังคม ในกรณีที่มีการให้บริการสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยถูกกระทำการที่อาจเกิดจากความไม่รู้ ขาดศีลธรรม จริยธรรม หรือการกระทำที่ผิดกฎหมายจากบุคคลหนึ่งบุคคลใด

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

ข้อ 1. ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

ข้อ 5. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยอย่างเหมาะสมแก่สภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน

ข้อ 6. พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อวิชาชีพ

ข้อ 1. พึงตระหนักและถือปฏิบัติในหน้าที่ความรับผิดชอบตามหลักการแห่งวิชาชีพการพยาบาล

ข้อ 2. พัฒนาความรู้และวิธีปฏิบัติให้ได้มาตรฐานแห่งวิชาชีพ

-ผิดตามประกวลกฎหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

-ผิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

-ผิดหลักจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550

ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ

-ผิดหลักจริยธรรมที่ว่า

พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

จากกรณีศึกษาพยาบาลก็รู้อยู่ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ถึงแม้ว่าจะย้ายผู้ป่วยมาไว้ใกล้ๆก็ตาม แต่ในหลักการพยาบาลผู้ป่วยสับสนก็ควรที่จะผูกยึดผู้ป่วย และที่ผู้ป่วยตกเตียงกระดูกสะโพกขาหักได้รับการผ่าตัดและรักษากระดูกสะโพกจนเกิดแผลกดทับ

ดังนั้นพยาบาลมีความผิด

-ฐานทำการโดยประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย นั้นคือ การที่ทำให้ผู้ป่วยตกเตียง และยังมีแผลกดทับเกิดขึ้นอีก

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วย สังคม ในกรณีที่มีการให้บริการสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยถูกกระทำการที่อาจเกิดจากความไม่รู้ ขาดศีลธรรม จริยธรรม หรือการกระทำที่ผิดกฎหมายจากบุคคลหนึ่งบุคคลใด

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

ข้อ 1. ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

ข้อ 5. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยอย่างเหมาะสมแก่สภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน

ข้อ 6. พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อวิชาชีพ

ข้อ 1. พึงตระหนักและถือปฏิบัติในหน้าที่ความรับผิดชอบตามหลักการแห่งวิชาชีพการพยาบาล

ข้อ 2. พัฒนาความรู้และวิธีปฏิบัติให้ได้มาตรฐานแห่งวิชาชีพ

-ผิดตามประกวลกฎหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

-ผิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

-ผิดหลักจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550

ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ

-ผิดหลักจริยธรรมที่ว่า

พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

น ส สุคนทิพย์ กองมณี เลขที่ 76 2A

จากกรณีศึกษาคิดว่าพยาบาลมีความผิด ซึ่งจากกรณีนี้พยาบาลทำการพยาบาลด้วยความประมาทเลินเล่อ ขาดความ รอบคอบ ระมัดระวัง โดยพยาบาลรู้ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ไม่สามารถดูแลช่วยเหลือตัวเองได้ แต่ก็ยังไม่ให้การดูแลอย่างใกล้ชิด และพยาบาลก็ไม่ได้มีการผูกยึดผู้ป่วยกับเตียงจนผู้ป่วยตกเตียง เกิดอันตรายแก่ร่างกายของผู้ป่วย โดยไม่คิดให้รอบคอบที่จะคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นหลัก เพราะถ้าหากผู้ป่วยไม่ตกเตียง ก็ไม่ต้องผ่าตัดกระดูกสะโพก และเกิดแผลกดทับจนต้องติดเชื้อลุกลาม จนต้องยุติการล้างไต ผู้ป่วยก็จะสามารถล้างไตได้ ไม่เกิดภาวะไตวาย

จากกรณ๊ดังกล่าว มีความผิดตามมาตราดังต่อไปนี้

- มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

- มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

- มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

ตามการประมวลกฎหมายอาญาทั้ง 4 มาตรา พยาบาลมีความผิด ตามที่ได้กล่าวมาข้างต้น พยาบาลนั้นหาได้ใช้ความระมัดระวังและความละเอียดรอบคอบเพียงพอตามวิสัยไม่ ตามเหตุการณ์แล้วถ้าพยาบาลผูกยึดผู้ป่วย ก็คงไม่มีเหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้น แต่พยาบาลก็หาได้ทำไม่ ซึ่งอยู่ในวิสัยที่กระทำได้แต่ไม่กระทำ จึงถือได้ว่ามีความผิดฐานกระทำการณ์โดยประมาทเลินเล่อทำให้ผู้ป่วยเกิดความเสียหายแก่ร่างกายและชีวิต

จากกรณีศึกษาพยาบาลก็รู้อยู่ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ถึงแม้ว่าจะย้ายผู้ป่วยมาไว้ใกล้ๆก็ตาม แต่ในหลักการพยาบาลผู้ป่วยสับสนก็ควรที่จะผูกยึดผู้ป่วย และที่ผู้ป่วยตกเตียงกระดูกสะโพกขาหักได้รับการผ่าตัดและรักษากระดูกสะโพกจนเกิดแผลกดทับ

ดังนั้นพยาบาลมีความผิด

-ฐานทำการโดยประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย นั้นคือ การที่ทำให้ผู้ป่วยตกเตียง และยังมีแผลกดทับเกิดขึ้นอีก

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วย สังคม ในกรณีที่มีการให้บริการสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยถูกกระทำการที่อาจเกิดจากความไม่รู้ ขาดศีลธรรม จริยธรรม หรือการกระทำที่ผิดกฎหมายจากบุคคลหนึ่งบุคคลใด

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

ข้อ 1. ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

ข้อ 5. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยอย่างเหมาะสมแก่สภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน

ข้อ 6. พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อวิชาชีพ

ข้อ 1. พึงตระหนักและถือปฏิบัติในหน้าที่ความรับผิดชอบตามหลักการแห่งวิชาชีพการพยาบาล

ข้อ 2. พัฒนาความรู้และวิธีปฏิบัติให้ได้มาตรฐานแห่งวิชาชีพ

-ผิดตามประกวลกฎหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

-ผิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

-ผิดหลักจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550

ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ

-ผิดหลักจริยธรรมที่ว่า

พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

จากกรณีศึกษาพยาบาลก็รู้อยู่ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ถึงแม้จะถูกแยกออกมาพักที่เตียงใกล้ๆ โต๊ะทำงานของพยาบาล แต่ก็ควรที่จะผูกมัดเพื่อป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น แต่พยาบาลหาทำไม่ ต่อมาผู้ป่วยตกจากเตียงทำให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ทำให้ต้องยืดระยะเวลาการรักษาต่อไปอีก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ

ดังนั้นพยาบาลมีความผิด

-ฐานทำการโดยประมาทเลินเล่อ เป็นเหตุทำให้ผู้อื่นได้รับอันตราย นั้นคือ การที่ทำให้ผู้ป่วยตกเตียง และยังมีแผลกดทับเกิดขึ้นอีก

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพ

พยาบาลพึงให้การปกป้องคุ้มครองแก่ผู้ป่วย สังคม ในกรณีที่มีการให้บริการสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยถูกกระทำการที่อาจเกิดจากความไม่รู้ ขาดศีลธรรม จริยธรรม หรือการกระทำที่ผิดกฎหมายจากบุคคลหนึ่งบุคคลใด

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

ข้อ 1. ประกอบวิชาชีพด้วยความมีสติ ตระหนักในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์

ข้อ 5. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยอย่างเหมาะสมแก่สภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน

ข้อ 6. พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

-ผิดจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อวิชาชีพ

ข้อ 1. พึงตระหนักและถือปฏิบัติในหน้าที่ความรับผิดชอบตามหลักการแห่งวิชาชีพการพยาบาล

ข้อ 2. พัฒนาความรู้และวิธีปฏิบัติให้ได้มาตรฐานแห่งวิชาชีพ

-ผิดตามประกวลกฎหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

-ผิดตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

-ผิดหลักจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2550

ข้อ 12 ผู้ประกอบวิชาชีพ ต้องไม่ประกอบวิชาชีพโดยไม่คำนึงถึงความปลอดภัย และความสิ้นเปลืองของผู้ป่วยหรือผู้ใช้บริการ

-ผิดหลักจริยธรรมที่ว่า

พยาบาลประกอบวิชาชีพโดยมุ่งความเป็นเลิศปฏิบัติการพยาบาลโดยมีความรู้ในการกระทำและสามารถอธิบายเหตุผลได้ในทุกกรณี พัฒนาความรู้ และประสบการณ์อย่างต่อเนื่อง รักษาสมรรถภาพในการทำงานประเมินผลงานและประกอบวิชาชีพทุกด้านด้วยมาตรฐานสูงสุดเท่าที่จะเป็นไปได้

พยาบาลพึงป้องกันอันตรายต่อสุขภาพและชีวิตของผู้ใช้บริการโดยการร่วมมือประสานงานอย่างต่อเนื่องกับผู้ร่วมงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ เพื่อปฏิบัติให้เกิดผลตามนโยบายและแผนพัฒนาสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชาชน พึงปฏิบัติหน้าที่รับมอบหมายงานและมอบหมายงานอย่างรอบคอบและกระทำการอันควรเพื่อป้องกันอันตรายซึ่งเห็นว่าจะเกิดกับผู้ใช้บริการแต่ละบุคคลครอบครัวกลุ่มหรือชุมชน โดยการกระทำของผู้ร่วมงาน หรือสภาพแวดล้อมของการทำงาน หรือในการใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง

อ่านแล้วเครียดค่ะ

สงสารพยาบาล

เรื่องมันผ่านไปแล้ว แก้ไขอะไรไม่ได้

ขอเพียงอย่าให้เกิดเป็นครั้งที่สองดีกว่า

 

 

จากกรณีนี้พยาบาลก็รู้อยู่ว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ถึงแม้ว่าจะย้ายผู้ป่วยมาไว้ใกล้ๆก็ตาม แต่ในหลักการพยาบาลผู้ป่วยสับสนก็ควรที่จะผูกยึดผู้ป่วยไว้ จนผู้ป่วยตกเตียงกระดูกสะโพกขาหักได้รับการผ่าตัดและรักษากระดูกสะโพก  เเละเกิดแผลกดทับ

ตามประมวลกฎหมายมีความผิด ดังต่อไปนี้

-  ตามกฎหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 390 “ผู้ใดกระทำประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายแก่กายหรือจิตใจ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

-  ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

 

เป็นการประพฤติไม่เหมาะสมกับจรรยาบรรณวิชาชีพ  ดังนี้

จรรยาบรรณวิชาชีพ

4. พยาบาลมีหน้าที่รับผิดชอบในการตัดสินใจและให้การพยาบาลแก่ผู้ป่วยแต่ละราย

5. พยาบาลพึงดำรงไว้ซึ่งสมรรถนะในการปฏิบัติการพยาบาล

จรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลต่อประชาชน

5. พึงปฏิบัติหน้าที่โดยใช้ความรู้ความสามารถอย่างเต็มที่ในการวินิจฉัยและการแก้ไขปัญหาสุขภาพอนามัยอย่างเหมาะสมแก่ สภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน

6. พึงป้องกันภยันตรายอันจะมีผลต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน

ซึ่งคุณภาพของงานบริการที่ผู้ป่วย/ผู้ใช้บริการคาดหวังจะได้จากบริการพยาบาล คือ
1. การได้รับบริการที่ดี ผู้ใช้บริการมีความรู้
2. การได้รับบริการที่ถูกต้อง เหมาะสม และรวดเร็ว
3. การบริการที่มีความปลอดภัย ได้มาตรฐาน
4. การได้รับการดูแลที่เอื้ออาทร เอาใจใส่ มีอัธยาศัย
5. ความเชื่อมั่นและไว้วางใจได้รวมถึงความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการ
6. การสื่อสารที่เข้าใจ

ภาพลักษณ์ของผู้ประกอบวิชาชีพ ควรประกอบด้วย
1. บุคลิกภาพดี
2. กริยาท่าทาง สุภาพ อ่อนโยน กระตือรือร้น
3. มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4. มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก
5. มีความรู้
6. เสียสละ
7. มีคุณภาพ และจริยธรรมประจำใจ
8. กล้าตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้
9. รักษาสิทธิผู้ใช้บริการ

ที่มา  www.tnc.or.th/knowledge/know03.html

        www.ams.cmu.ac.th/pub/law/civil/ - 2k -

        www.dbd.go.th/thai/law/law_index.phtml - 71k

        http://www.lawyerthai.com/law/index.php?articleid=9


จากกรณีศึกษาพบว่าผู้ป่วยมีอาการสับสน ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ พยบาลควรมาประเมินสถาพร่างกายอย่างต่อเนื่องเพื่อทำการป้องกันการตกเตียงจากอาการสับสนของผู้ป่วย ถึงแม้ว่าจะอยู่ใกล้แล้วก็ตาม จากกรณีศึกษาพยาบาลมีความผิดพราะมีความประมาทตามกฎหมาย เพราะผู้ป่วยได้รับความเสียหายจาการตกเตียงดังนี้ให้กระดูกสะโพกข้างขวาหัก จึงต้องรับการรักษาโดยการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก และภายหลังจากการผ่าตัดรักษากระดูกสะโพก ผู้ป่วยมีแผลกดทับเกิดขึ้นที่กระดูกก้นกบและกลายเป็นแผลลุกลามติดเชื้อ ครอบครัวของผู้ป่วยจึงปรึกษาและขอให้ยุติการล้างไตไว้ก่อน จนในที่สุดผู้ป่วยก็เกิดภาวะไตวาย และเสียชีวิตในเวลาต่อมา" พยาบาลควรได้รับความผิดตามปรระมวลกฎหมายอาญาและกฎหมายแพ่ง ดังนี้

ตามกฎหมายอาญา

มาตรา 59 “ กระทำโดยประมาท ได้แก่กระทำความผิดมิใช่โดยเจตนา แต่กระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง ซึ่งบุคคลในภาวะเช่นนั้นจักต้องมีตามวิสัยและพฤติการณ์ และผู้กระทำอาจใช้ความระมัดระวังเช่นว่านั้นได้ แต่หาได้ใช้ให้เพียงพอไม่”

มาตรา 300 “ ผู้ใดกระทำโดยประมาท และการกระทำนั้นเป็นเหตุให้ผู้อื่นรับอันตรายสาหัส ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามปี หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ”

มาตรา 307“ผู้ใดมีหน้าที่ตามกฎหมายหรือตามสัญญา ต้องดูแลผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้เพราะอายุ ความเจ็บป่วย กายพิการ หรือจิตพิการ ทอดทิ้งผู้ซึ่งดูแลตนเองมิได้นั้นเสียโดยประการที่น่าจะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่ชีวิต ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 6,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ”

- ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

มาตรา 420 “ผู้ใดจงใจหรือประมาทเลินเล่อทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมายให้เขาเสียหายถึงแก่ชีวิตก็ดี แก่ร่างกายก็ดี อนามัยก็ดี เสรีภาพก็ดี ทรัพย์สิน หรือสิทธิอย่างหนึ่งอย่างใดก็ดี ท่านว่าผู้นั้นทำละเมิด จำต้องใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อการนั้น”

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท