ปัจจุบันมีผึ้งสกุลเอพีส (Genus Apis) มีอยู่ 3 Subgenus และมีอยู่ 9 ชนิดด้วยกัน ดังนี้
-
Genus Apis, Subgenus Apis ผึ้งที่อยู่ในโพรงไม้, โพรงดิน มีมากกว่า 1 รวง
ชื่อวิทยาศาสตร์ระดับชนิด Author name, ปี ค.ศ. |
เขตแพร่กระจาย หรือสถานที่เก็บต้วอย่าง |
|||
Apis mellifera Linnaeus,1758 | ยุโรป และ อาฟริกา, ปัจจุบันมีการนำเข้าไปเลี้ยงทั่วโลก | |||
Apis cerana Fabricius, 1793 | อินเดีย,ตอนใต้ของจีน, ปากีสถาน,ศรีลังกา, เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งอินโดนียเซีย | |||
Apis koschevnikovi Enderlein,1906 | อินโดนีเซีย (สุมาตรา,ชวา,บอเนียว,ซาราวัค) | |||
Apis nuluensis Tingek,Koeniger & Koeniger,1996 | มาเลเซีย | |||
Apis nigrocincta Smith,1861 | อินโดนีเซีย (มินดาเนา,บอเนียว) | |||
Apis cerana skorikovi Engel,1999 | - | |||
2. Genus Apis, Subgenus Megapis เป็นผึ้งที่มีขนาดใหญ่ สร้างรวง 1 รวงอยู่ในที่โล่งแจ้งติดกับตันไม้ หรือหน้าผา
ชื่อวิทยาศาสตร์ระดับชนิดAuthor name, ปี ค.ศ. | เขตแพร่กระจายหรือสถานที่เก็บต้วอย่าง | |||
Apis dorsata Fabricius,1793 | อินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งฟิลิปปินส์ | |||
Apis laboriosa Smith, 1871 | เทือกเขาหิมาลัยที่ความสูง 3-5 พันเมตร (แคชเมียร์,สิกขิม,เนปาล,ภูฏาน และตอนใต้ของจีน) | |||
3. Genus Apis, Subgenus Micrapis ผึ้งที่มีขนาดเล็ก สร้างรวง 1 รวง ในที่กำบัง หุ้มกิ่งไม้
ชื่อวิทยาศาสตร์ระดับชนิด Author name, ปี ค.ศ | เขตแพร่กระจายหรือสถานที่เก็บต้วอย่าง | |||
Apis florea Fabricius,1787 | เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | |||
Apis andreniformis (Smith,1858) | สิกขิม,พม่า,ไทย,มาเลเซีย,อินโดนีเซีย (สุมาตรา,บอเนียว,ชวา) | |||
(หมายเหตุ ชื่อ Author มีวงเล็บแสดงว่ามีการ เปลี่ยนชื่อ แต่เพื่อเป็นเกียรติแก่ผู้ตั้งชื่อคนแรก จึงคงชื่อไว้โดยใส่วงเล็บไว้=แสดงว่ามีการแก้ไขชื่อ) |
ชื่อวิทยาศาสตร์ในระดับชนิด (species) ประกอบด้วยชื่อ Genus + specific epithet เช่น Apis cerana ซึ่งต้องเขียนให้แตกต่างจากคำอื่นด้วยการเขียนตัวเอียง Apis คือ ชื่อ Genus ส่วนคำว่าcerana เป็นชื่อ specific epithet หรือ specific name ตามด้วยชื่อผู้ตั้งชื่อ และตามด้วยปี ค.ศ.ที่ตั้งชื่อครับ ซึ่งจะไม่เขียนตัวเอน..
อ่านเรื่องเพิ่มเติม ใน wikipedia