กลยุทธ์ 8S ในการส่งเสริมการอ่าน กรณีศึกษาห้องสมุดเฉลิมราชกุมารี อำเภอยางตลาด จ.กาฬสินธุ์


ปี 2564 มีโอกาสได้ทำงานกับเครือภายนอก ท่านผอ.กศฯ.จังหวัดกาฬสินธุ์ ผอ. นพกนก บุรุษนันท์  หรือสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดกาฬสินธุ์ หน. สุรีรัตน์ สิงห์จินดา  ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ และพี่บุญเลิศ บุลท์มันน์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ ในการพัฒนาห้องสมุดประชาชนเป็นดิจิทัล

เมื่อบริบท สิ่งแวดล้อม และพฤติกรรมของผู้ใช้บริการเปลี่ยนแปลงไป ห้องสมุดก็นิ่งนอนใจไม่ได้นะคะ  เพราะผลกระทบดังกล่าวอาจจะทำให้ ประชาชนมีการอ่านและการเรียนรู้ลดจำนวนลง  

จากการทำงาน เราค้นพบกลยุทธ์ 8S เป็นกลยุทธ์ที่ใช้ในการส่งเสริมการอ่านในยุคดิจิทัล ที่เราหมายถึงการอ่านจากสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และการอ่านจากสิ่งพิมพ์ฉบับพิมพ์   ซึ่งได้แก่ 

1)Sources    

2) Show  

3)Story   

4)Searching  

5)Services  

6)Share 

7)Statistics 

8)Staff 

ซึ่งผู้เขียนได้นำมาใช้ในการส่งเสริมการอ่านของห้องสมุดประชาชน "เฉลิมราชกุมารี" อำเภอยางตลาด จังหวัดกาฬสินธุ์ และสามารถนำไปประยุกต์กับห้องสมุดอื่นๆได้

อ่านบทความฉบับเต็มจาก วารสารการอ่าน https://so01.tci-thaijo.org/index.php/rdj/article/view/247847

หมายเลขบันทึก: 708325เขียนเมื่อ 5 ตุลาคม 2022 15:28 น. ()แก้ไขเมื่อ 5 ตุลาคม 2022 15:28 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท