ปรับเปลี่ยน พัฒนา ปฏิรูป การศึกษาไทย (อีก)


We see the ‘cast’ (who have a role) in Thailand's education in ปรับเปลี่ยน พัฒนา ปฏิรูป การศึกษาไทย //www.gotoknow.org/posts/707579 . Before we unfold interactions among the cast, let's learn the settings of Thailand education (like a good movie buff, we want to know the background story).

What is the purpose of education in Thailand?
The Act states that “Education shall aim at the full development of the Thai people in all aspects: physical and mental health; intellect; knowledge; morality; integrity; and desirable way of life so as to be able to live happily with other people.  --http://www.en.moe.go.th/enMoe2017/index.php/ministry-profile/vision  

and "Focusing on developing learners along with knowledges, morality, decent life quality and happiness in society."  (Yes in their words on their website ‘decent life quality’ seems to mean ‘desirable way of life’ ).

--The Act is พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2562

Missions [of Ministry of Education of Thailand]

 1. Enhance the quality and education standards of all levels / types toward the international level.
 2. Strengthening the equalization of opportunities for access to public education services
 3. Develop the educational management system in accordance with good governance principles.


Thailand has 6 education strategic plan 
1. Education management for social and national security
2. Manpower production and development, Research and Innovation to increase competitive capability
3. Building capacity for all ages people and creating a learning society
4. Building an opportunities, equality and education equality.
5. Education management to strengthen life quality and environment friendly.
6. Improving the performance of education management system

However, looking further within MOE's website, we will find some ‘Educational statistics’. The  latest available is สถิติการศึกษาประจําปี 2559 2016 (for 2016/2559 a 104 page book 1 published. 2560 ). --Does this mean that MOE is basing its current and future work on ‘old’ data and reports?

Inside  สถิติการศึกษาประจําปี 2559, we can see some  educational indices (ดัชนีทางการศึกษา) like : อัตราการเลื่อนชั้น C1/C2 ในปีการศึกษา Y1/Y2 (Promotion Rate C1/C2 Academic Year Y1/Y2); อัตราการเรียนต่อชั้น ม.1;  อัตราการเรียนต่อชั้น ม.4 และ ปวช.1 … all about ‘quantity’ (not ‘quality’) of ‘input’ and ‘output’. Does this means MOE is focusing more on volume (not quality) of production (education) system?

[More reading on MOE's website, and more searches for Students and Parents' “needs” are in progress, with the aim to establish discrepancies (The Act - MOE's activities, Act - Parents/Students, …) – that is to define the problems ('dukkha') so we are clear to find their ‘causes’ and move on. – this is nothing new but the ages old Buddhists' ‘ariyasacca 4’ ]

[Updated 2/10/2565 --adding snippets of Thailand Education Act from https://www.moe.go.th/backend/wp-content/uploads/2020/10/1.-พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ-พ.ศ.2542-ฉ.อัพเดท.pdf

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542

หมวด 1
บททั่วไป
ความมุ่งหมายและหลักการ

มาตรา 6  การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้ได้อย่างมีความสุข

มาตรา 7  ในกระบวนการเรียนรู้ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเมือง
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ
หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจ
ในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริมศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และความรู้อันเป็นสากล ตลอดจน
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู้จักพึ่งตน เอง
มีความริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง

มาตรา 8  การจัดการศึกษาให้ยึดหลักดังนี้

(1) เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
(2) ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
(3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง

***ตลอดชีวิต  มีส่วนร่วม  ต่อเนื่อง***

มาตรา 9  การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักกดังนี้

(1) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบัติ
(2) มีการกระจายอำนาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3) มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา
(4) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาและการพัฒนา ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
(5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
(6) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

หมวด ๒
สิทธิและหน้าที่ทางการศึกษา

มาตรา ๑๐ การจัดการศึกษา ต้องจัดให้บุคคลมีสิทธิและโอกาสเสมอกันในการรับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปีที่รัฐต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
   การจัดการศึกษาสำหรับบุคคลซึ่งมีความบกพร่องทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา
อารมณ์ สังคม การสื่อสาร และการเรียนรู้ หรือมีร่างกายพิการหรือทุพพลภาพ หรือบุคคลซึ่งไม่
สามารถพึ่งตนเองได้หรือไม่มีผู้ดูแลหรือด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิและโอกาสได้รับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นพิเศษ
   การศึกษาสาหรับคนพิการในวรรคสอง ให้จัดตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการโดย
ไม่เสียค่าใช้จ่าย และให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก สื่อ บริการ และความ
ช่วยเหลืออื่นใดทางการศึกษา ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง
   การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมีความสามารถพิเศษ ต้องจัดด้วยรูปแบบที่เหมาะสม
โดยคำนึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น

มาตรา ๑๑ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีหน้าที่จัดให้บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความ
ดูแลได้รับการศึกษาภาคบังคับตามมาตรา ๑๗ และตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องตลอดจนให้ได้รับ
การศึกษานอกเหนือจากการศึกษาภาคบังคับ ตามความพร้อมของครอบครัว

มาตรา ๑๒ นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล
ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และ
สถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรือผู้ปกครองมีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ ดังต่อไปนี้

(๑) การสนับสนุนจากรัฐ ให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้
การศึกษาแก่บุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่ในความดูแล
(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรือบุคคลซึ่งอยู่
ในความดูแลที่ครอบครัวจัดให้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกำหนด
(๓) การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด

มาตรา ๑๔ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ซึ่งสนับสนุนหรือจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มีสิทธิได้รับสิทธิประโยชน์ตามควรแก่กรณี ดังต่อไปนี้

(๑) การสนับสนุนจากรัฐให้มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูบุคคลซึ่งอยู่ใน
ความดูแลรับผิดชอบ
(๒) เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนด
(๓) การลดหย่อนหรือยกเว้นภาษีสำหรับค่าใช้จ่ายการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด

The Act specifies the aim, the rights and responsibilities of MOE, parents and children – any deficiency from the Act is a problem; any discrepancy from the Act is a problem; … unless the Act is changed (by Parliament process). This means any ปรับเปลี่ยน พัฒนา ปฏิรูป การศึกษาไทย must serve and satisfy the Act. Anything contrary to the Act is illegal and unsatisfactory (in our frame of reference ‘dukkha’). ] 

[Added 3 Oct 2565 as  ‘my’ comments to the Education Act: 

มาตรา 6  การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่วมกับผู้ได้อย่างมีความสุข 

This article implies Thai people are to be developed into perfect human in physical, mental, intellectual, knowledge and moral aspects with morality and culture for living together happily with others. This is a 'pie in the sky' as perfect human has no definition and no physical examples (in existence). Morality and culture also have no clear definition. They are relative or normalized to specific societies. The Act does not give definitions to these terms.

==Note== See Why There Is No Perfect Human In .. https://blogs.scientificamerican.com/voices/there-is-no-perfect-human-in-puerto-rico-or-anywhere-else/  ;  https://www.quora.com/Who-is-the-most-perfect-human-being-that-has-ever-existed-on-planet-Earth-in-regards-to-being-perfect-on-most-areas-of-life-and-proven-to-be-it  ;  Eugenics : N. การปรับปรุงลักษณะทางพันธุกรรมของมนุษย์ให้ดีขึ้น --English-Thai Lexitron Dictionary 2.0

Article 10 states “no cost” of (basic) education – this has been partially realized but the cost of education to families is still substantial and far from “no cost”. The second clause is about provision for children with certain disabilities --in special suitable forms at no cost to the families --this is another tall order.

==Note== See - -เศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ : โครงสร้างเศรษฐกิจไทย....ต้องเปิดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ https://www.isranews.org/article/isranews-article/112421-bot-Governor-BOT-Symposium-2022-news.html 
“…โครงสร้างเศรษฐกิจไทยต้องเปิดโอกาสให้กับทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านโอกาสที่สูงในหลายมิติ ควรได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง ทั้งความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ บริการสุขภาพ เทคโนโลยี บริการทางการเงิน รวมถึงโอกาสในการประกอบอาชีพและโอกาสทางธุรกิจ…”

“การฟึ้นฟูสมรรถภาพคนพิการ” หมายความว่า การเสริมสร้างสมรรถภาพหรือความสามารถ
ของคนพิการให้มีสภาพที่ดีขึ้น หรือดํารงสมรรถภาพหรือความสามารถที่มีอยู่เดิมไว้ โดยอาศัย
กระบวนการทางการแพทย์ การศาสนา การศึกษา สังคม อาชีพ หรือกระบวนการอื่นใด เพื่อให้คนพิการ
ได้มีโอกาสทํางานหรือดํารงชีวิตในสังคมอย่างเต็มศักยภาพ


“การสงเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต” หมายความว่า การฟึ้นฟููสมรรถภาพคนพิการ การจัดสวัสดิการ
การส่งเสริมและพิทักษสิทธิ การสนับสนุนให้คนพิการ"สามารถดํารงชีวิตอิสระ มีศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์
และเสมอภาคกับบุคคลทั่วไป มีส่วนรวมทางสังคมอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ" ภายใต้สภาพแวดล้อม
ที่คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้

**We We can conclude that the Act sets ideal goal to strive for rather than actual conditions to achieve. Our initial assumption that Thailand Education System must satisfy the prima facie goal (Article 6 of the Act) is practically false. We are force to accept degrees of compliance to the goal. So, our definition of the ‘problem’ (dukkha) is unclear and all later stages will inherit this idealistic requirement.

To be continued…
 



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท