ดู การเสนอกฎหมายโดยประชาชน


I was drawn to look at Thailand Parliamentary system a few weeks ago by numerous news headlines and from searches on the topic, I saw inequalities between members of parliament (MPs) and the people they "represent". These inequalities are listed in laws that [purpose to] secure and promote equality of [all] people. [ดู ความ(เหลว)ไหล ในรัฐสภา https://www.gotoknow.org/posts/705446 ]. And I made a comment to my post there [See also at bottom of this post]. I hope to understand the [so-called] Initiative Process and to assess its feasibility. So far I have not seen a good clear example of ‘success in this process’ [No citizens proposed laws]. And, we cannot remove members of parliament [because the constitution ‘demands’ them to be involved in legislation of ‘all’ laws (citizens proposed laws included).

Perhaps we can reduce the wastage - reduce number of members, reduce benefits, reduce scope of the members power and functions, reduce term of appointment (to 2 years), mandate performance annual reports, mandate auditor annual reports, … 

In sum the principle of ‘greater power comes with greater responsibility’.

 

 

Herein the notes: 
ประชาชนเสนอกฎหมายได้อย่างไร *
การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชนนั้น เริ่มปรากฏเป็นครั้งแรกตั้งแต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2540 ซึ่งเรียกกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน โดยได้มีการกำหนดบทบัญญัติรองรับสิทธิ และเสรีภาพของประชาชนในการมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยให้ประชาชนมีสิทธิเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้เป็นครั้ง แรก โดยกำหนดให้ผู้มีสิทธิ ...

การเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน (Initiative Process) - รัฐสภา
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/ewt_dl_link.php?nid=45242&filename=house2558_2

การเข้าชื่อเสนอกฎหมาย - รัฐสภา
https://www.parliament.go.th › propo...
การเสนอร่างพระราชบัญญัติบำนาญแห่งชาติและสวัสดิการผู้สูงอายุ พ.ศ. ... รู้ความเข้าใจในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ครั้งที่ ๔ ภาคกลาง ...

“สิทธิในการเข้าชื่อเสนอกฎหมายของประชาชน - วุฒิสภา
http://web.senate.go.th › Image › Legal › legal12 PDF
ฉบับปี๒๕๕๐ หรือรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน ตามข้อมูลและสถิติปรากฏว่าได้มีประชาชน. เข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายเป็นจำนวนมากรวม ๒๘ ฉบับ โดยแยกออกเป็นการเสนอ. 15 pages

คู่มือเข้าชื่อเสนอกฎหมายสำหรับประชาชน | iLaw.or.th
https://www.ilaw.or.th › node
17 July 2021 — กฎหมายกำหนดว่า ถ้าจะเสนอ ร่างพระราชบัญญัติ(พ.ร.บ.) ... เราสามารถเขียนเองได้ว่าต้องการให้มีเนื้อความว่าอย่างไร ต้องการแก้ไข ...

   รัฐธรรมนูญ2560: ประชาชนหนึ่งหมื่นคนสามารถเข้าชื่อเสนอกฎหมายได้
   https://ilaw.or.th › node
   1 May 2017 — สามหลักการสำคัญประชาชนอยากเสนอกฎหมายต้องทำอย่างไร ... ก็เพื่อเป็นการส่งเสริมการใช้สิทธิของประชาชนในการเสนอร่างกฎหมายให้สะดวกขึ้น.

คู่มือการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน - สถาบันพระปกเกล้า
https://kpi.ac.th › uploads › pdf
เงื่อนไขสาคัญในการเข้าชื่อเสนอร่างกฎหมายเป็นอย่างไร. 1. ร่างพระราชบัญญัติ. 1.1 ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งมีสิทธิริเริ่มเสนอร่างพระราชบัญญัติได้เฉพาะกรณีที่ ...

   สรุปสาระสำคัญร่างพระราชบัญญัติการมีส่วนร่วมของประชาชนใน ...
   https://www.kpi.ac.th › book › data

ร่าง พ.ร.บ.การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะ พ.ศ. ....สำคัญและมีเนื้อหาอย่างไร ดาวน์โหลดรายละเอียดได้ที่ลิงค์ด้านล่างนี้. สรุปสาระสำคัญร่าง ...

คำถาม 5. ผู้มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ คือใคร?
https://www.fpo.go.th › main › FAQ
ผู้มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ คือใคร? ตอบ ผู้มีอำนาจเสนอร่างพระราชบัญญัติ กระทำได้ 3 องค์กร คือ ... 3) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน ... [now only 10,000 คน]

พ.ร.บ.เข้าชื่อฯ ฉบับใหม่ จะทำให้ประชาชนเสนอ 'ร่างกฎหมาย' ง่ายขึ้น ...
https://thematter.co › Social › Politics
27 May 2021 — ร.บ.เข้าชื่อเสนอกฎหมายฯ ปี พ.ศ.2542 ก็มีการกำหนดให้ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่น้อยกว่า 50,000 คน มีสิทธิเสนอร่างกฎหมายให้รัฐสภาพิจารณาได้.  [now only 10,000 คน]

ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
https://grad.dpu.ac.th › content › files › year8-1
ขั้นตอนอย่างไรจึงจะสอดคล้องกับ มาตรา 77 นี้ ... อีกทั้งได้ลดจํานวนประชาชนผู้ใช้สิทธิเช้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัติจาก 50,000 คน เหลือ 10,000 คน. 10 pages  [now only 10,000 คน]

ขั้นตอนออกกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ 2560 | iLaw.or.th
https://ilaw.or.th › node
30 July 2019 — ในการพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปประเทศและการนิรโทษกรรม ... หนึ่ง การเสนอร่างกฎหมาย สอง การพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา ...

อำนาจหน้าที่สภาผู้แทนราษฎร - รัฐสภา
https://web.parliament.go.th › TH-TH
2) พระราชกำหนดเกี่ยวด้วยภาษีอากรและเงินตรา ตราขึ้นในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นว่ามีความจำเป็นต้องมีกฎหมายเกี่ยวด้วยภาษีอากรหรือเงินตราซึ่งจะต้องได้รับการพิจารณาโดย ...


หน้าที่และอานาจของวุฒิสภา ตามรัฐธรรมนูญ
https://www.senate.go.th › portals › fileups › files PDF
การพิจารณากฎหมายร่วมกับสภาผู้แทนราษฎรในฐานะรัฐสภา และการกลั่นกรองกฎหมาย ... แห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๑๓๒ ได้บัญญัติให้การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบ …

อำนาจฝ่ายนิติบัญญัติ http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/pol/114.htm 

1. การเสนอร่างกฎหมาย
          1.1 การเสนอร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (มาตรา 139)
                    (1) คณะรัฐมนตรี
                    (2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร หรือสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา มีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 10 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
                    (3) ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลฎีกา หรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ ซึ่งประธานศาลและประธานองค์กรนั้นเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้น
          1.2 การเสนอร่างพระราชบัญญัติ (มาตรา 142)
                    (1) คณะรัฐมนตรี
                    (2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่า 20 คน
                    (3) ศาลหรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ เฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวกับการจัดองค์กรและกฎหมายที่ประธานศาลและประธานองค์กรนั้นเป็นผู้รักษาการ
                    (4) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า10,000 คนเข้าชื่อเสนอกฎหมายตามมาตรา 163 (เฉพาะหมวด 3 และหมวด 5)

2. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่ประชาชนเสนอ (มาตรา 163 วรรคสี่)
          2.1 สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภาต้องให้ผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นชี้แจงหลักการของร่างพระราชบัญญัติ
          2.2 คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติจะต้องประกอบด้วยผู้แทนของประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 จองจำนวนกรรมาธิการทั้งหมด

3. การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย (หมวด 8 การเงิน การคลัง และงบประมาณ มาตรา 166 - 170)

4. การพิจารณาอนุมัติพระราชกำหนด
          กำหนดให้ศาลรัฐธรรมนูญมีอำนาจควบคุมตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญขงพระราชกำหนดอย่างเคร่งครัด (มาตรา 185)

5. การให้ความเห็นชอบในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ
          ญัตติขอแก้ไขเพิ่มเติมต้องมาจาก (มาตรา 291 (1))
          (1) คณะรัฐมนตรี
          (2) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของสภาผู้แทนราษฎร
          (3) สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภามีจำนวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 5 ของจำนวนสมาชิกทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ของทั้งสองสภา
          (4) ประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่า 50,000 คนตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย
          ประการสำคัญ การพิจารณาในวาระที่สอง ต้องจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นจากประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งที่เข้าชื่อเสนอร่างรัฐธรรมนูญแก้ไขเพิ่มเติมด้วย

Ref :  http://www.parliament.go.th/parcy/parcy_index.php?item=0400 13/06/2008  

อำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ
https://www.constitutionalcourt.or.th › article › art... PDF
รัฐธรรมนูญของกฎหมายหรือร่างกฎหมาย พิจารณาวินิจฉัยปัญหาเกี่ยวกับ ... ของรัฐธรรมนูญ ก็ให้เสนอความเห็นนั้นไปยังรัฐสภาและให้รัฐสภาประชุม.
//

Comment:

It is unfortunate that we have ‘[a] Thailand Constitution’ that ‘guarantees’ existence and maintenance of Thailand Parliamentary system [in this present form; without adequate functionality and quality control of its mechanism.

We have ‘apparently a means to add our ‘input’ to the Parliamentary system withการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน (Initiative Process). But the following process ขั้นตอนออกกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ 2560 allows (in fact demands) elected members to support the people’s initiative to turn the proposal into a law (or amendment to a law).

The last ‘life line’ อำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ has not been tested. It may take more than ‘goodwill and good solution’ to overcome money and time problems [of legislating ‘citizens proposed laws’].

I have more notes on this. Perhaps I should post them ;-)

https://www.gotoknow.org/posts/705446
It is unfortunate that we have ‘[a] Thailand Constitution’ that ‘guarantees’ existence and maintenance of Thailand Parliamentary system [in this present form; without adequate functionality and quality control of its mechanism.

We have ‘apparently a means to add our ‘input’ to the Parliamentary system withการเข้าชื่อเสนอกฎหมายโดยประชาชน (Initiative Process). But the following process ขั้นตอนออกกฎหมายตามรัฐธรรมนูญ 2560 allows (in fact demands) elected members to support the people’s initiative to turn the proposal into a law (or amendment to a law).

The last ‘life line’ อำนาจหน้าที่ของศาลรัฐธรรมนูญ has not been tested. It may take more than ‘goodwill and good solution’ to overcome money and time problems.



ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท