wilbur schramm model of communication


wilbur schramm model of communication

                   Wilbur L. Schramm ได้นําแบบจําลองการสื่อสารทางเดียวเชิงเส้นตรงของ Shannon และ Weaver มาใช้เพื่อเป็นแนวทางในการอธิบายการสื่อสารที่เกิดขึ้นในการเรียนการสอน โดยเน้นถึงวัตถุประสงค์ของการสอน ความหมายของเนื้อหาข้อมูล และการที่ข้อมูลได้รบการแปล ความหมายอย่างไร Schramm ยังได้ให้ความสําคัญกบการสื่อสารวาจะเกิดขึ้นได้อย่างดีมีประสิทธิภาพเฉพาะในสวนที่ผู้ส่งและผู้รับทั้งสองฝ่ายต่างมีวัฒนธรรม ประเพณีความเชื่อความรู้ที่สอดคล้องคล้ายคลึงกันและมีประสบการณ์รวมกัน จึงจะทําให้สามารถเข้าใจความหมายที่สื่อกันนั้นได้ (กิดานันท์ มลิทอง, 2548)

      จากแบบจําลอง ถ้าส่วนของประสบการณ์ของผู้ส่งและผู้รับซ้อนกันเป็นวงกว้างมากเท่าใด จะทําให้การสื่อสารนั้นเป็นไปได้โดยสะดวกและงายมากยิ่งขึ้นเพราะต่างฝ่ายจะเข้าใจสิ่งที่กล่าวถึงนั้นได้เป็นอย่างดีแต่เมื่อใดที่วงของขอบข่ายประสบการณ์ซ่อนกันน้อยมากหรือไม่ซ้อนกันเลย แสดงว่าทั้งผู้ส่งและผู้รับแทบจะไม่มีประสบการณ์ร่วมกันเลย การสื่อสารนั้นจะทําได้ยากลําบากหรอแทบจะสื่อสารกันไม่ได้อย่างสิ้นเชิง ซึ่งสามารถทราบได้จากผลปอนกลับที่ผู้รับส่งกลับไปยังผู้ส่งนั้นเอง

อ้างอิง

              กิดานันท์ มลิทอง. 2548. เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์.
              ชลทิพย์ อัศวกาญจน์. 2545. การส่งสารของผู้บังคับบัญชาเพื่อสร้างการยอมรับจากผู้ใต้บังคับบัญชาที่มีอาวุโสมากกว่าในองค์กร                                                               ไทย.วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
              ชาญชัย อาจินสมาจาร. 2537. เทคนิคการสื่อความหมายที่ทรงประสิทธิผล. กรุงเทพมหานคร : สหมิตรออฟเซท.

คำสำคัญ (Tags): #communication
หมายเลขบันทึก: 674685เขียนเมื่อ 25 มกราคม 2020 12:43 น. ()แก้ไขเมื่อ 25 มกราคม 2020 12:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท