ร่างกาย กับ ความรู้ และความเข้าใจ


(#)กินเพียงให้พออิ่ม 
 (#)กินพอให้หายอยาก.
      
      เพื่อจะได้ไม่วิตกกังวลเกี่ยวกับการรับประทานอาหาร ในชีวิตประจำวันมากเกืนไปเพื่อช่วยให้ลดความเคร่งเครียดในการดำรงชีวิต เพราะสารอาหารต่างมีครบถ้วนในอาหารที่เรารับทานเข้าไปอยู่แล้ว และร่างกายมีกลไกของการทำงานของอวัยวะ ที่จะดูดซึม เอาไปใช้ประโยชน์ เก็บสะสมไว้ในยามจำเป็น หรือ ขจัดทิ้งหากมีมากเกิน ตามธรรมชาติที่ร่างกายได้พัฒนาการ และ วิวัฒนาการมาหลายล้านปี

   (at) ธรรมชาติของร่างกาย เมื่อภายในร่างกาย รู้สึกถึงการขาดแคลนพลังงานและ สารอาหารต่าง ๆ ก็จะมีกระบวนการขั้นตอนเพื่อการดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมของโลกใบนี้ ตามที่ธรรมชาติได้สร้างไว้ในร่างกาย ด้วยการรับรู้ภาวะการขาดแคลนในร่างกายผ่านโครงข่ายเยื่อประสาทโดยอัตโนมัติแล้วจึงประมวลผลของสมอง ส่งสัญญานเชื่อมโยงไปยังอวัยวะต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งสารอาหารที่จะนำไปชดเชย ทดแทน ในส่วนที่ ขาด หรือลดน้อยลง ด้วยการ
        (-)  หิว (-)    
อวัยวะต่าง ๆ เริ่มทำงาน เช่น หู ตา จมูก  ปากลิ้นรับรู้รส 

        (-)กิน.(-) 
   เป็นกระบวนการย่อย ทั้ง.  
      เชิงกล คือเคี้ยวให้เป็นชิ้นเล็ก  
      เชิงเคมี เพื่อแยย่อยกโครงสร้างเคมีเพื่อการดูดซึม
           (-)อิ่ม.(-)  
    เป็นขั้นตอนที่เนื้อเยื่อบุผนังลำไส้ ดูดซึมสารเคมีต่าง ๆ เข้าสู่ระบบเลือด เพื่อนำไปยังส่วนต่าง ๆ ตามความต้องการของร่างกาย
   
       (-) ขับถ่าย.(-) 
      เพื่อขจัดเศษอาหารที่ย่อยไม่ได้  ดูดซึมไม่ได้หรือ ส่วนเกินความต้องการที่ต้องขจัดทิ้งจาก อวัยวะที่สำคัญคือ ตับ ม้าม ไต 

  (at) แนวดิด และวิธีการของ ธรรมกายบำบัด  คือ วิธีการเต็ก  เพื่อทำให้เนื้อเยื่อยืดหยุ่น เลือดจึงหมุนเวียนได้ดี กระบวนการทำงานของอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย จะทำงานมีประสิทธิภาพ การย่อย การดูดซึม  การความคุม และการขจัดทิ้งส่วนเกิน ได้ด้วยกลไกกายการทำงานของอวัยวะต่างอย่าง อัตโนมัติตามธรรมชาติของร่างกาย  สุขภาพจึงดี ไม่มีปัญหาความเจ็บป่วย จึงเป็นการป้องกัน  และ เป็นการแก้ไขปัญหา หรือบำบัด เมื่อมีอาการเจ็บป่วย ซึ่งช่วยบรรเทา และอาการหายไปได้

  (.)คลิปความรู้เรื่อง ระบบย่อยอาหาร และ ระบไหลเวียนของเลือด เป็นความรู้ที่ใช้ในการเรียน ชั้นประถมปีที่ 6  นำมาประกอบ เพื่อความเข้าใจที่ชัดเจน และง่ายขึ้น ขอขอบคุณเจ้าของผลงานเหล่านี้ด้วยครับ 
      
        วิบูลย์. กาสมสัน 
         17. มิย.61

หมายเลขบันทึก: 648306เขียนเมื่อ 17 มิถุนายน 2018 16:18 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มิถุนายน 2018 16:18 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท