ร้อยดวงใจ ถักทอยสายใยรักนักพัฒนาไตรภาคี สู่จิตรอาสาพัฒนาครอบครัว


ต้องเปลี่ยนทัศนคติจากศูนย์พัฒนาครอบครัวเป็นภาระของการทำงาน ให้เป็น ศูนย์พัฒนาครอบเป็นพันธะผูกพันธ์ในงานที่ต่างคนต่างใด้ ผลประโยชย์ แบบไตรภาคี เวทีครั้งนี้ต้อนรับด้วยสายใยรัก และด้วยปิดร้อยพลังรักแห่งสายใย ถักทอเป็นเกลียวสัมพันธ์จับมือส่งสื่อสัมพันหมุน เกลียวเป็นไดนามิกไม่รู้จบในงานสร้างคมพัฒนาพัทลุง อย่างยั่งยืน


"พัฒนาศักยภาพคนพัทลุงทุกช่วงวัยทุกช่วงวัยให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง"เป็นโจทย์ที่ใหม่ที่ท้าทายคนทำงานอาสาพัฒนาสังคมเป็นอย่างมาก 

คณะทำงานเครือข่ายครอบครัวพัทลุงถกแถลงแสดงความเห็นกันว่า การเตรียมความพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง ต้องเริ่มที่ฐานครอบครัว 

พัฒนาครอบครัวเป็นสถาบันครอบครัวต้องพัฒนาชุมชนให้มีพื้นที่กลางในการพูดคุย ตามหลักการพัฒนาให้ชุมชนเป็นศูนย์กลางทุกประเด็นงาน

 ต้องบูรณาการ(พลอยกัน)ทำงานแบบไตรภาคี มีหน่วยงาน นักการเมืองท้องถิ่น และประชาชนคนจิตรอาสาพัฒนาสังคม ....... 

       3 ปีที่ขับเคลื่อนเครือข่ายครอบครัวจังหวัดพัทลุง เรามีทีมวิทยากร ทีมสื่อ ทีมวิชาการ ประกอบด้วย 

ตัวแทนศูนย์พัฒนาครอบครัว 

ตัวแทนนักพัฒนาของท้องถิ่น 

ตัวแทนนักการเมืองท้องถิ่น 

 ตัวแทนสมาคมครอบครัวเข้มแข็งจังหวัดพัทลุง

และมี เจ้าหน้าที่ พมจ. เป็นกองเลขาฯ เป็นคณะทำงาน 

      ได้รับการแต่งตั้งจากผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลุง ขับเคลื่อนงานภายใต้การหนุนเสริมของพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 

จังหวัดพัทลุง ทางทีมงานได้ ลงพื้นที่หาข้อมูลติดตามการทำงานของศูนย์พัฒนาครอบครัวในปีแรก จากข้อมูล มาวิเคราะห์ 

จัดอันดับการขับเคลื่อนงานของศูนย์ พัฒนาครอบครัวได้ 3 ระดับ

 1 ระดับดีเด่น  มีตัวชี้วัดการบูรณาการทำงานแบบไตรภาคีทั้ง 3 ส่วน คือมีท้องหนุนเสริม มีนักพัฒนาเป็นพี่เลี้ยง 

ศูนย์พัฒนาครอบครัวสามารถจัดการตัวเองได้มีกลไก มีโครงสร้าง มีระเบียบข้อบังคับ มีปฎทินการประชุมและประชุมอย่างต่อเนื่อง 

ที่สำคัญคือ มีการการรายงาน ศพค. มฐ.ตามกำหนด

  ระดับที่ 2 ระดับดี มีตัวชี้วัด รองลงมา เช่นอาจไม่ได้รับการหนุนเสริมงบประมาณจากท้องถิ่น หรือนัฒนาท้องถิ่นไม่ได้เข้ามเป็นพี่เลี้ยง

 หรือ นายกหนุน นักพัฒน์ดี แต่คณะทำงานศูนย์ เดินเองไม่ได้ 

 ระดับ 3 พื้นที่ตอไม้ที่ตายแล้ว คือ ทั้ง3 ส่วนของไตร ภาคี ไม่มีให้เห็น ......

      ทางคณะทำเครือข่ายครอบครัว จึงระดมความคิด ได้แผนงานพัฒนาศูนย์พัฒนาครอบครัว คือแผนติดตาม ฟื้นฟู และปรับเปลี่ยนศูนย์ 

แผนพัฒนายกระดับศูนย์ แผนพัฒนาคณะทำงานเครือข่าย

ทำข้อเสนอเชิงนโยบายต่อผู้ว่าราชการจังหวัดพัทลงลุงเรื่องการยุติการกระทำความรุนแรงในครอบครัว มาใช้

ในปีที่ 2 ซึ่งข้อเสนอเชิงนโยบาย ทางจัหวัดพัทลุงได้เสนอเข้าแผนยุทธศาสตร์จังหวัด

 ปีที่ 3 ของการทำงาน มีโครงการเข้ามาเป็นการนำร่อง 2 โครงการ คือ การดูแลเด็ก 0-5 ปี และ โรงเรียนพ่อแม่ในชุมชน เสร็จสิ้นโครงการ มีการทบทวน

ถอดบทเรียนโครงการและบทเรียนคณะทำงาน เสร็จสิ้นโครงการและจากข้อมูลการถอดบทเรียน พบว่าศูนย์ พัฒนาครอบครัวในจังหวัดพัทลุงสามารถ

พัฒนา และยกระดับขึ้น หลายพื้นที่ จากการรายงานสรุปผลการผลการถอดบทเรียนการดำเนินงานศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน

ครั้งที่ 1 ในวันที่ 10-11 กันยยน 2560ณ.แก่งหนานมดแดง พัทลุงพบว่า แกนกลางในการพัฒนาศูนย์พัฒนาครอบครัว คือนักพัฒนาท้องถิ่น

 ซึ่งต้องนักประสานทั้งบนและล่าง ทั้งยังต้องทำหน้าที่พี่เลี้ยงต่อคณะทำงานศูนย์

    จึงเกิดโครงการ ชวนนักพัฒน์คัย(พัฒนาศักยภาพคนพัทลุงทุกช่วงวัยให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง)

ในวันที่ 17 -18 พฤศจิกายน 2560 ณ. บารารีสอร์ทhttps://www.gotoknow.org/posts...(อ่านที่นี้)

  ซึ่งทางทีมวิทยากรครอบครัวพัทลุง  ออกแบบกิจกรรมนำเรียนรู้ด้วยการสร้างสุขก่อนสร้างการเรียนรู้ 

 เปิดประเด็นต้อนรับนักพัฒน์ด้วย ริบบิ้น สายใยรักนักพัฒนาสู่ศูยน์พัฒนาครอบครัว 

กิจกรรมเสวนา ผู้เข้าร่วมเสวนาประกอบด้วย 5 เสาหลัก คือ

 เสารชุมชน 

เสานักการเมือง

 เสาผู้บริหารท้องถิ่น

 เสาผู้ปฎิบัตการท้องถิ่น

 และเสา ของรัฐ คือ พมจ

.กติกาผู้เสวนาไม่อภิปราย แต่ให้ตอบคำถามของผู้เข้าร่วมอภิปราย ทางผู้ดำเนินรายการบอกว่าใช้หลัก 4 ก.ในการถาม คือ

 อย่าเก็บ 

อย่ากด 

อย่าเกร็ง 

และอย่ากลัว

     นี้คือการชันชี(กติกา) ถามนายกท้องถิ่น ถามปลัด ถามนักพัฒน์ ถามประธานศูนย์ สุดท้าย ถาม พมจ. ...

     2 วัน 1 คืน ทางทีมงานวิทยากรได้สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของเวที ให้ผู้ร่วมมีการแสดงความคิดเห็นซักถาม จนเป็นที่เข้า 

ซึ่งเสร็จการการประชุม งานที่นักพัฒน์ ต้องกลับไปดู ไปทำ ไปสัมพันธภาพ ทั้งทางนายก ปลัด และทางคณะทำงานศูนย์ มีปัญหาติดขัดตรงใหน

ให้นึกถึงคำถาม ในวงเสวนา

     และต่อไปนี้ต้องเปลี่ยนทัศนคติจากศูนย์พัฒนาครอบครัวเป็นภาระของการทำงาน ให้เป็น ศูนย์พัฒนาครอบเป็นพันธะผูกพันธ์ในงานที่ต่างคนต่างใด้

ผลประโยชย์ แบบไตรภาคี   เวทีครั้งนี้ต้อนรับด้วยสายใยรัก และด้วยปิดเวทีร้อยพลังรักแห่งสายใย ถักทอเป็นเกลียวสัมพันธ์จับมือส่งสื่อสัมพันหมุน

เกลียวเป็นไดนามิกไม่รู้จบในงานสร้างคมพัฒนาพัทลุง อย่างยั่งยืน.....

(19ตค ขณะดานฟ้าเริก ในหบามฝน ที่ฝนไม่ตก)

ต้อนรับนักพัฒนาด้วย สายใยรักครอบครัว

วิทยากรเสวนา ประธานศูน นายกท้องถิ่น ปลัดท้องถิ่น พมจ พัทลุง และนักพัฒนาท้องถิ่น

เสื้อขาวอยู่กลางประธานพิธิปิดโครงการ นายก อบต ตำบลชะมวง พัทลุง นายอธวัฒน์ ขุนทอง ประธานเครือข่ายครอบครัวพัทลุง

มุมเทห์ๆของวิทยากรครอบครัวพัทลุง นาย ฤทธิชัย พลนุ้ย

นี้ก็วิทยากร นักวิชาการบ้านๆของเครือข่ายครอบครัวพัทลุง









หมายเลขบันทึก: 641665เขียนเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2017 04:36 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2017 05:56 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท