​ความเป็น"ธรรมชาติ" ในความหมายของผู้รู้ (Guru)


ความเป็น"ธรรมชาติ" ในความหมายของผู้รู้ (Guru)

*******************************
ถ้าเริ่มมองแต่จากระยะไกลมาจนใกล้ จนถึงการส่องดูด้วยเลนส์ ก็คือ
...........................................
1. พุทธศิลป์.....ที่มิใช่บล็อก พิมพ์ หรือ ตำหนิ
..........................................
แต่เป็นลักษณะภาพรวมของงานศิลปะ ที่สื่อความหมายทั้งเชิงปรัชญา ประวัติศาสตร์ และงานฝีมือช่างแต่ละกลุ่ม
-----------------------------------------
2. มวลสารและพัฒนาการ......ที่มิใช่เป็นเพียงลักษณะเนื้อแบบใดแบบหนึ่ง
...............................................
แต่เป็นความกลมกลืนสอดประสานกันของมวลสารดั้งเดิม แบบต่างๆ ที่มีความจริงแท้ และพัฒนาการมายาวนาน ตามที่ควรจะเป็น
------------------------------------
คำว่า "ธรรมชาติ" นี้ มีคนไม่รู้ ไม่เข้าใจลอกเลียนมาใช้ และทำให้ตัวเองและผู้อื่นหลงทางไปกับงานฝีมือใหม่ๆ มานักต่อนักแล้ว
.....................................
การแก้ไข ก็คือ การเรียนรู้ตามลำดับ จากง่ายไปยาก จากวัสดุของแท้ดูง่ายไปหาวัสดุของแท้ดูยาก จนกระทั่ง เรียนดูพระแท้ดูง่ายไปหาพระแท้ดูยาก

เมื่อเรียนจนพอจับหลักการของพระแท้ได้แล้ว จึงหันมาจับ"โกหก" งานฝีมือช่างระดับต่างๆ จากพระเก๊ดูง่ายไปหาพระเก๊ดูยาก
----------------------------------------------
แล้วท่านจะเข้าใจว่า "ธรรมชาติ" ของพระเก่าๆ เนื้อเก่าๆ ที่หลากหลายนั้นคืออย่างไร นั่งคิดเอาเอง ฝันเอาเอง มีแต่จะหลงทางมากกว่าครับ

หมายเลขบันทึก: 616764เขียนเมื่อ 8 ตุลาคม 2016 08:41 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 ตุลาคม 2016 08:41 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ขอบคุณสำหรับบทความดีๆครับอาจารย์


https://goo.gl/0TrXDZ

ผมก็เกือบหลงทางเหมือนกันในการศึกษาพระเครื่อง พอมาอ่านบทความของอาจารย์ และค่อยคิดทีละประเด็นทำให้ผมเข้าใจ เลยต้องเอามาประยุกต์ใช้ในการศึกษาพระเครื่อง ตั่งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ขอบคุณครับข้อมูลดีๆ...

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท