​รัฐแห่งความโหดร้าย


รัฐแห่งความโหดร้าย

บทความ State of Cruelty เขียนโดย Paul Krugman นักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบล ชี้ให้เห็นความซับซ้อนของการเมืองเรื่องระบบสุขภาพ ที่การต่อสู้ระหว่างอุดมการณ์การเมืองสองขั้วเข้มข้นมาก คือขั้วระบบตลาด (รีพับลิกัน) กับขั้วปกป้องผลประโยชน์ของประชาชน (เดโมแครต)

พอล ครุกแมนชี้ให้เห็นความโหดร้ายในรัฐเท็กซัส ที่นักการเมืองขั้วระบบตลาดครองรัฐ ที่ส่งผลให้อัตราตายของหญิงตั้งครรภ์เพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน อัตราตายที่เพิ่มนี้ ตรงกับช่วงที่รัฐตัดเงินสนับสนุนหน่วย เอ็นจีโอชื่อ Planned Parenthood ที่ทำหน้าที่ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ ที่ช่วยเหลือคนยากจน

เขาชี้ว่า รัฐเท็กซัสเป็นรัฐที่ยึดถือการช่วยเหลือคนยากจนน้อยที่สุดเท่าที่ไม่ผิดกฎหมาย แม้จะมีกฎหมาย Affordable Care Act แต่รัฐนี้ก็เลือกที่จะไม่รับเงินช่วยเหลือจากรัฐบาลกลาง เอามาช่วยเหลือคนจน เพราะพรรครีพับลิกันครองอำนาจในรัฐมายาวนาน ทำให้กลายเป็นรัฐแห่งความโหดร้าย (ต่อคนจน)

วิจารณ์ พานิช

หมายเลขบันทึก: 613070เขียนเมื่อ 30 สิงหาคม 2016 05:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 30 สิงหาคม 2016 05:51 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

May I point out 'a source of cruelty' as reported by

Phachern Thammasarangkoon
กระแส “การควบรวม” องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อประสิทธิภาพ..... อ่านต่อได้ที่: https://www.gotoknow.org/posts/612837

This is one example of 'culture of efficiency' (aka 'self-interest') in organization created and legitimated to further suppress disadvantaged people.

In sum: it is more efficient to support big cities than to support remote areas.

(Mathematically, X/N is more attractive than x/n when N >> n and X >> x especially in 'procurement' of equipment and services.)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท