EIA -- อี๊ อาย เอ๋​


EIA -- อี๊ อาย เอ๋
: การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม

It's time we learn more about Environmental Impact Assessment (EIA) - why, how and who have to do it. It's time we ask questions for our environment, our children if not for ourselves. We have a government office responsible for looking after us the people in accordance with the laws. This office is muted at the moment. We have to voice our concerns elsewhere - in social media - instead of through 'ONEP'.

สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
Office of Natural Resources and Environmental Policy and Planning

http://www.onep.go.th/

and their cilaborators:

สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
- สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
- สำนักงานกองทุนสิ่งแวดล้อม
- สำนักประสานการจัดการการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
- สำนักสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื้นที่เฉพาะ
- สำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
- สำนักติดตามประเมินผลสิ่งแวดล้อม
- กองประสานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- กองบริหารจัดการที่ดิน
- สำนักงานเลขานุการกรม
- ฝ่ายความหลากหลายทางชีวภาพ


กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมมลพิษ กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรทางทะเลฯ กรมป่าไม้ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล กรมอุทยานฯ กรมทรัพยากรน้ำ กรมทรัพยากรธรณี องค์การจัดการน้ำเสีย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก สำนักพัฒนาฐานเศรษฐกิจจากทรัพยากรชีวภาพ

and


Let us have a quick look at what and who involved in EIA:

from https://th.wikipedia.org/wiki/การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม :

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อังกฤษ: Environmental Impact Assessment ย่อว่า EIA) หมายถึง การประเมินผลกระทบจากโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจนำไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจนิยามได้ว่าเป็น "กระบวนการเพื่อการบ่งชี้ ทำนาย ประเมิน และบรรเทาผลกระทบทางชีวกายภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีต่อข้อเสนอการพัฒนาใด ๆ ก่อนที่จะมีการตัดสินใจให้ลงมือดำเนินได้" วัตถุประสงค์ของการประเมินก็เพื่อให้เป็นการประกันได้ว่า ผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจได้พิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบของโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสิ่งแวดล้อม ก่อนทำการอนุมัติให้ดำเนินโครงการที่มีผู้ขออนุญาตดำเนินการ...
ประเทศไทยได้ประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ซึ่งได้กำหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติขึ้น มีอำนาจหน้าที่ คือ

เสนอนโยบายและความเห็นเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ให้ความเห็นเกี่ยวกับโครงการ ที่อาจส่งผลเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม

ต่อมาได้มีการออกพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2521 ทั้งนี้เนื่องจากพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 มิได้มีการระบุให้แน่ชัดเกี่ยวกับอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติบางเรื่อง จึงก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ ดังนั้น จึงได้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2518 โดยได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้ชัดเจนและรัดกุมขึ้นกว่าเดิมรวม 3 ประการ คือ

กำหนดให้มีการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสำหรับโครงการพัฒนาของรัฐและกิจกรรมบางประเภทของเอกชน
ให้อำนาจในการกำหนดมาตรฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อม ที่มิได้อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยราชการใด ตลอดจนการกำหนดวิธีการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ดำเนินการในด้านการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในกรณีที่ฉุกเฉิน

สำหรับกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติสามารถเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อเอื้ออำนวยต่อการบริหารสิ่งแวดล้อม และแก้ไขอุปสรรคและข้อขัดข้องในทางปฏิบัติได้

ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2524 สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้กำหนดให้มีการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ หรือกิจการบางประเภทและบางขนาด โดยอาศัยอำนาจตามประกาศกฎกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงานซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2524 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการศึกษาเกี่ยวกับทรัพยากรสิ่งแวดล้อมและคุณค่าต่าง ๆ ที่มีต่อมนุษย์ที่อาจจะถูกกระทบกระเทือน เนื่องจากโครงการหรือกิจการนั้น ๆ (สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2527)


ในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ในส่วนของการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ปรากฏใน ส่วนที่ 4 มาตราที่ 46 ถึง มาตราที่ 51

กฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์แก่ผู้รักษาการ (แต่ยังมิได้ระบุไว้ในมาตราโดยตรง) วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องนำเสนอพร้อมรายงานฯ เพิ่มเติม

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้ระบุไว้ชัดในมาตราที่ 56 โดยมีประเด็นหลักที่สำคัญ คือ โครงการพัฒนาใด ๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชุมชน จะไม่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการใด ๆ หากไม่มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน ดังนั้น จากกฎหมายหลักฉบับนี้ของไทย ทำให้กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว
...

[Please read below carefully. It explains how EIA is to be done.]
ระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
http://www.onep.go.th/index.php?option=com_content...
...

ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA - สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
www.onep.go.th/eia/index.php?option...id...
Articles. ขั้นตอนการพิจารณารายงาน EIA. ขั้นตอนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. กรณีโครงการหรือกิจการที่ต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการ ...

ขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทำรายงาน EIA
www.onep.go.th/eia/index.php?option...id...
ขั้นตอนการขอรับใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทำรายงาน EIA. การขอรับใบอนุญาตเป็นผู้มีสิทธิทำรายงาน. การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. 1. ความเป็นมา. 2...

...ขั้นตอนและระยะเวลาการพิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการพิจารณาผู้มีสิทธิขอรับใบอนุญาตทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการดำเนินการทั้งสิ้น 10 ขั้นตอน รวมระยะเวลาไม่เกิน 55 วันทำการ ดังนี้

1. งานสารบรรณส่งเรื่องให้กลุ่มงานนิติการ 1 วัน
2. กลุ่มงานนิติการตรวจสอบคุณสมบัตินิติบุคคล 2 วัน
3. กลุ่มงานนิติการส่งเรื่องให้สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม 1 วัน
4. สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตรวจสอบเอกสารแสดงคุณสมบัติผู้เสนอขอเป็นผู้ชำนาญการ 7 วัน
5. สำนักวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสรุปคุณสมบัติ ผลงาน และประสบการณ์ของนิติบุคคลผู้เสนอขอเป็นผู้ชำนาญการและเจ้าหน้าที่ 10 วัน
6. คณะอนุกรรมการกลั่นกรองการขออนุญาตทำรายงานฯ สัมภาษณ์ ผู้เสนอขอเป็นชำนาญการ 20 วัน
7. คณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาผู้มีสิทธิทำรายงานฯพิจารณาขั้นสุดท้าย - วัน
8. สรุปมติการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาผู้มีสิทธิฯ 3 วัน
9. รับรองมติคณะกรรมการผู้ชำนาญการพิจารณาผู้มีสิทธิฯ 7 วัน
10. แจ้งผลการพิจารณา 4 วัน

รวม 55 วัน...


การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
http://www.onep.go.th/index.php?option=com_content...
ขั้นตอนการพิจารณารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. โครงการที่ต้องได้รับอนุญาตจากทางราชการและโครงการที่ไม่ต้องเสนอขอรับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี


ระบบการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
www.onep.go.th/eia/index.php?option...id...
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมหรือที่มักเรียกกันว่า EIA ย่อมาจากคำว่า Environmental ... หากได้รับการนำมาในการวางแผนป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ขั้นตอนศึกษาความเหมาะสมของ ... การกลั่นกรองโครงการที่ต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม. 2.


โครงการที่ต้องจัดทำรายงาน EIA
http://www.onep.go.th/eia/index.php?option=com_con...
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กำหนดประเภทและขนาดของโครงการหรือกิจการซึ่งต้องจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม และหลักเกณฑ์ วิธีการ ...


ปัญหาและแนวทางแก้ไขในการยื่นรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ ...
www.asa.or.th/en/node/99795
ปัญหาและแนวทางแก้ไขในการยื่นรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA) ... โดยได้ประกาศขั้นตอนการพิจารณารายงานฯใหม่ให้มีลักษณะที่กระชับและชัดเจนขึ้น ...


[If you read down to here and wish to add comments, please do so. If you wish to ask questions please do so and also send email to those offices involved with the issues of your concerns.

Governments come and go. People bear the burden of all governments blunders. ]

คำสำคัญ (Tags):
หมายเลขบันทึก: 603272เขียนเมื่อ 11 มีนาคม 2016 04:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 มีนาคม 2016 05:06 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (8)

นี้คือสภาพ..ความเป็นอยู่..ของผู้ที่รับจ้างกรีดยาง...เขาเหล่านั้นส่วนใหญ่เป็นคนงานเร่ร่อน..ในจำนวนนั้นมีชาวต่างชาติมากมาย...ตั้งเครื่องรีดน้ำยางทำเป็นแผ่น..ๆยางเหล่านี้..ใช้กรดชนิดหนึ่งทำให้น้ำยางแข็งตัว..กรดเหล่านี้ถูกปล่อยไปทั่วทุกหนทุกแห่งรวมทั้งแหล่งน้ำธรรมชาติ...(รัฐ)....ไม่เคยให้ความสนใจดูแลอย่างแท้จริง..สิ่งที่มีอยู่ในกระดาษ..ไม่ใช่สิ่งที่นำความถ่องแท้สู่มวลชนได้...

ป่าที่ปลูกไว้..นั้นทำให้ได้เห็นและสัมผัส...ความเป็นไป..ได้...ในป่าที่เป็นธรรมชาติ..นั้นก็คงเช่นกัน...

คำว่า..รักษ์..สิ่งแวดล้อม...นั้น..คือ..การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม..ระหว่างภาครัฐและ..มวลชน...

ภาพที่เห็นเป็นแค่ตัวอย่างหนึ่ง...เผาขยะ..ทุกหนทุกแห่ง...ในเมืองไทย...โดยเฉพาะ..ขยะที่ไม่เน่าสลาย..สิ่งนี้มีมานานแล้วและคงมีต่อๆไป....เจ้าค่ะ...

Lots of issues raised in your comment, ยายธี:

1) Thailand has been a crossroad for thousands of years -multicultural is deep-rooted-;

2) mostly organic acids (formic กรดมด, acetic น้ำส้ม,... น้ำหมักชีวภาพ) are used these days (sulphuric acid was used before this). These acids can harm skins but not really toxic and break-down quite quickly

3) burning rubbish in backyards (no bigger than 1mx2m piles) will be a fact of rural life. It costs a match or two - much cheaper than disposal by other methods. However, burning many plastics can produce smelly toxic fumes harmful to people and trees.

4) Yes! We have to 'change' our ways to make living 'in high density' bearable. And that is one 21C issue for Thailand (people and government) to face.

5) Were you still around Karnchanaburi or down South down (when you took that picture)? I ask just to gauge the extent of rubber work ;-)

ภาพนี้ถ่ายที่กานจนบุรีที่ป่า"อภัยทาน"..เมื่อสองวันก่อนเดินทางกลับ..ฮัมบอรก เจ้าค่ะ..ปัญหาเหล่านี้..แก้ไม่ได้ด้วย..กฏ..หมาย.และคำอธิบาย(.ขอย้ำ)..."เรื่องของ "งู กินหาง "และทศนิยมไม่รู้จบ ของนักการเมือง นักวิชาการ..นักอะไรต่อมิอะไร..เยอะแยะไปหมด..5..

So you are back in Hamburg again.

Anyway, this post is about EIA, people understanding of EIA, government offices that should be regulating EIA and promoting EIA. The EIA here are for 'big projects' that impact a lot of people in many ways for some very long time.

People can get displaced by 'train projects' and only compensated for the value of their properties but not their livelihood while many people (investors) gain from increased values of properties and increased value of their livelihood/income. EIA should list and estimate values of this and other concerns, so projects can be 'costed' properly.

But it seems we are still asking for simple justice -- overlooked by our volunteering government.

ไม่ผ่าน EIA ไม่ทำต่อ! รบ.ยันคำสั่งคสช.ย่นเวลาโครงการขับเคลื่อนศก.ให้เร็วขึ้น ...
http://www.isranews.org/thaireform/thaireform-news...
วันเสาร์ ที่ 12 มีนาคม 2559 เวลา 15:48 น.
รัฐบาลยืนยัน ไม่ละเลยผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม จากกรณีออกคำสั่ง หน.คสช.ที่ 9/59 ชี้ช่วยย่นเวลาโครงการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เร็วขึ้น หาผู้ร่วมลงทุนควบคู่ประเมินผลกระทบ วอนกลุ่มองค์กรต่างๆ เปิดใจรับฟังมุมมองด้านอื่นด้วย


...“นายกฯ และรัฐบาลยินดีรับฟังข้อห่วงใยของกลุ่มองค์กรทั้งหลาย แต่ทั้งสองฝ่ายก็ต้องรับฟังซึ่งกันและกัน โดยยืนยันว่าจะไม่ให้การทำ EIA หรือ EHIA เป็นเพียงแค่พิธีกรรม หรือการกระทำให้ครบตามขั้นตอนเท่านั้น เพราะเป็นเรื่องที่กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและชีวิตของประชาชน หากในที่สุดผลการประเมินไม่ผ่าน ก็จะไม่ดำเนินการต่ออย่างแน่นอน ขณะเดียวกันกลุ่มองค์กรต่าง ๆ ก็ต้องเข้าใจภาระหน้าที่ของรัฐบาลที่จำเป็นต้องเร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงจำเป็นต้องบริหารโครงการโดยใช้เวลาอย่างคุ้มค่า ทั้งนี้ ยอมรับว่าในอนาคตอาจเกิดผลกระทบต่อผู้ร่วมลงทุนบ้าง หากผลการประเมินไม่ผ่าน แต่ยืนยันว่าจะไม่เกิดความเสียหาย เพราะยังไม่มีการผูกพันสัญญาใด ๆ...

แฉพรบ.แร่ประเคนรัฐ-ทุน ภาคปชช.ระดมต้านหั่นEIA Friday, March 18, 2016
http://thaipost.net/?q=แฉพรบแร่ประเคนรัฐ-ทุน-ภาคปช...

...สนช.รับหลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ ประเคนอำนาจ รมต.ทรัพย์-อุตสาหกรรม จิ้มเอาพื้นที่ไหนเหมาะกับการทำเหมืองแร่ นักวิชาการชี้ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชน เตือนผลกระทบตามมา ด้านเครือข่ายภาคประชาชน 87 องค์กรเดินหน้าคัดค้านคำสั่ง ลดขั้นตอน EIA ลั่นคัดค้านอย่างต่อเนื่อง...


พระราชบัญญัติแร่ พ ศ 2510 - กระทรวงอุตสาหกรรม
www.industry.go.th/phangnga/index.php/download-doc...
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว า “พระราชบัญญัติแร พ.ศ. ๒๕๑๐”


ร่าง พ.ร.บ.แร่ 'เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่ ...
ilaw.or.th › จับตา สนช.
Feb 9, 2015 - หลังคณะรัฐมนตรี (ครม.) ของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา อนุมัติหลักการร่างพระราชบัญญัติแร่ พ.ศ. .... เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม 2557 ...


สนช.รับหลักการร่างพ.ร.บ.แร่
โพสต์ทูเดย์‎ http://www.posttoday.com/politic/422052
เมื่อวันที่ 17 มี.ค. ที่ประชุมสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) มีมติ 148 ต่อ 1 เสียงรับหลักการร่างพ.ร.บ.แร่ ...


สนช.รับร่างพรบ.แร่ เร่งนำผลศึกษาเหมืองทองคำ พิจิตรเข้าครม.
กรุงเทพธุรกิจ‎ http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/691122

We have come so far from hunter and gatherers of wild food to harvesters of recurring income from artificial systems -- that are destroying natural systems -- burning all bridges behind us -- no turning back!

ร้องสอบ จนท.ปมคอนโดฯดังชะอำสร้างไม่ตรง EIA โผล่โยงธุรกิจกลุ่มเดอะบิ๊ก
http://www.isranews.org/investigative/investigate-...
...ผู้เสียหายร้องสอบ จนท.เทศบาล-สนง.ที่ดินชะอำปมออกใบรับรองก่อสร้างคอนโดฯดัง ‘หัวหินทรอปปิคอลโอเชียนวิว’ ไม่ตรงข้อเท็จจริงในรายงาน EIA เอื้อเอกชน ก่อนหน้าปี 58 เจ้าของโครงการถูกผู้ว่าฯเพชรบุรีชงให้ดีเอสไอสอบ พบ กก.โดนหมายจับ โผล่โยงธุรกิจกลุ่มเดอะบิ๊ก...

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท