ต่องานฃิ้น แนวทางนโยบายชองสปปลาวทางด้านเศรษฐกิจต่อต่างประเทศโดยผ่านทางการทูต


6 พลังงานฟ้า USD$ 91.312.939 92.694.000 97.360.000 102.910.000
7 ผลติพันการกรเศษและสัต USD$  5.706.274 7.661.796 11.123.019 12.000.000
8 อุคสะหะกรรมและอื่นๆ USD$ 16.871.067 17.054.591 7.166.805 9.000.000
9 อื่นๆ USD$   2.832.853 4.274.604 8.410.000
  รวม USD$ 224.746.388 219.606.548 265.509.019 284.320.000
        2.5. นโยบายความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับต่างประเทศ           รัฐบาล สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ได้วางแผนนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจการค้าแต่ปี1986 เป็นต้นมา           ความสัมพันธ์ด้านเศรษฐกิจกับต่างประเทศ ได้มีการขยายตัวออกอย่างกว้างขวางตามทิตเปิดกว้างของรัฐบาล แต่ก็มีอันท่าทายหลายประการเช่น ปัญหาเงินเฟ้อ ได้เอาใจใส่คลุ้มครองราคาสินค้า ส่งเสรีมการนำเข้าวัตถุประกรพาหนะเครื่องมือรับใช้ การผลิต และการลงทุน ไม่สามารถส่งเสริมการนำเข้าประเพทสินค้าที่สามารถผลิตอยู่ภายใน และประเพทสินค้าฟุ่มเฟือยต่างๆ ความร่วมมือเศรษฐกิจกับต่างประเทศนี้ถือเป็นมาตรการหนึ่งในการผลักดันการแข่งขันในตลาดภายในของลาว ทำให้กลุ่มธุรกิจของลาวมีความเข้าใจถึงปัญหา และความต้องการของตลาดในโลก ปัญหาผลิตของตนที่จะส่งออกขาย และปัญหาการโคสะนาสินค้าอีกด้วย ทำให้การเคลื่อนไหวธุรกิจเข้าสู่การจัดตั้งที่มีการนำพาเคลื่อนไหวตามระเบียบตั้งเป็นกลุ่มหมวดสินค้าติดพันกับแผนปฏิบัติดูลการค้าอย่างเข้มงวด ทำให้มาตรฐานการคลุ้มครองขาออก-ขาเข้าได้รับการปฏิบัติอย่างถูกทิดและได้นำใช้กฎหมายว่าด้วยการดำเนินธุรกิจ เกี่ยวกับการค้า ซึ่งรัฐบาลได้ประกาศใช้ในวันที่ 18/07/1994 เป็นต้นมา และการมีกฎหมายดั่งกล่าว จะเป็นทักสนะที่ดีต่อต่างประเทศ จะทำให้ต่างประเทศมีความมั่นใจหลายขึ้นต่อความเสี่ยงในด้านธุรกิจของนักลงทุนและทำให้เขาเข้าใจว่า การดำเนินธุรกิจของลาวก็มีกฎหมายรองรับและยึดถือในหลักการของสากลตลอดมา                 2.5.1. นโยบายความสัมพันธ์เศรษฐกิจ-การค้าสองฝ่าย               เพื่อเพิ่มทวีการเปิดกว้างความสัมพันธ์หลักการความร่วมมือการค้ากับต่างประเทศแบบหลายทิดตามนโยบายของพักและรัฐบาล ซึ่งได้มีการชันสัญญาการค้าและความร่วมมือกับหลายประเทศเป็นต้นการทำสัญญาร่วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าและวิธยาศาสตร์เทคนิคกับรัฐเชีย พร้อมทังชันบทบันทึกว่าด้วยความร่วมมือรถเมไฟฟ้า และธุรกิจการยา ได้ค้นคว้าปรับปรุงสัญญาการค้ากับสโลวัก สำหลับบุนกาลี รงกาลี ชักโก โปโรย กุยบา ก็ได้มีการปรึกษาหารือเพื่อค้นหาช่องทางทางการค้าสองฝ่ายและพิเศษแม่นกับสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม       2.5.2. ความหมายสำคัญของความสัมพันธ์การค้าแบบสองฝ่าย                         ความสัมพันธ์แบบสองฝ่ายหรือความสัมพันธ์แบบทวีภาคี หมายถึงข้อตกลงหรือการจัดแจงระหว่างประเทศหนึ่งกับอีกประเทศหนึ่ง สัญญาการค้าสองฝ่ายเป็นข้อตกลงแบบสองฝ่าย ที่เป็นทางการหรือไม่เป็นทางการ เกี่ยวกับการค้าสองประเทศ ภายใต้สัญญาดั่งกล่าว สองฝ่ายมีการกำหนดเงื่อนไขทางการค้า โดยทั่วไปแล้วจะกลวมเอาถึงการให้สิทธิพิเศษของการเข้าสู่ตลาดซึ่งกัน และกันแบบเท่าเทียม                    ดั่งนั้นความสัมพันธ์การค้าแบบสองฝ่ายจึ่งมีความหมายสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยุคของการแข่งขันอันรุนแรงใน ปัจจุบัน เพื่อทำให้สามารถบันรุจุดประสงค์ของการเข้าสู่ตลาด และยาดได้ส่วนแบ่งของตลาดอย่างมีข้อกีดกั้นน้อยที่สุด ฉะนั้นปัจจุบันการสร้างตั้งเขตการค้าเสรีในขอบสองฝ่าย หรือBilateral free trade area จึ่งกำลังเป็นกระแสนิยม ถึงแม้ว่าเกือบหมดทุกประเทศในโลกเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก( WTO ) และการสล้างตั้งกลุ่มเศรษฐกิจในระดับขงเขตก็เกิดมีขึ้นอย่างกว้างขวางเช่น EU  ASEAN  NAFTA.                 2.5.3. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้าขงเขตอาชีตาวันออกเสี่ยงใต้                          ส ป ป ลาวมีสัญญาความร่วมมือทางการสองฝ่าย กับเกือบทุกประเทศที่เป็นสมาชิ ASEAN ยกเว้น บรูไนท์และสิกะโป ซึ่งประเทศสิงกะโปถือว่าเป็นประเทศที่เปิดเสรีทางการค้าหลายอยู่แล้วหมายว่าการเข้าสู่ตลาดของประเทศสิงกระโปไม่มีข้อกีดกั้นทางภาษี  อัดตราภาษีนำเข้าเกือบว่า 0% หมด ยกเว้นบางลายการสินค้าที่ต้องห้ามเช่น อาวุดสงคราม นอกนั้น ประเทศอยู่ทะวีปอาชีตาวันออกเช่น  ส ป จีน  ส ป ป เกาหลี และ มงโกลี ก็ได้มีสัญญาการค้าสองฝ่ายกับ ส ป ป ลาว                                   2.5.4. ความสัมพันธ์กับอาเชี่ยน ( ASEAN )              เพื่อปฏิบัตินโยบายการต่างประเทศ สันติภาพ เอกลาด มิตรภาพและความร่วมมือ ในปี  1992 ส ป ป ลาวได้เข้าเป็นภาคีของสนธิสัญญาไมตรีจิตและความร่วมมือในอาชี ซึ่งเรียกย่อว่า สนธิสัญญาบาหลี และได้กลายเป็น ผู้สังเกตการของเอเชี่ยน นับแต่เดือนกรฤาคม 1992เป็นต้นมา ส ป ป ลาว ได้เข้าร่วมการเคลื่อนไหวต่างๆของ ASEAN เพื่อผลประโยชน์แห่งสันติภาพ เสถียรภาพ และความร่วมมือเพื่อการพัฒนาของบรรดาประเทศในภาคพื้น ส ป ป ลาวเข้าเป็นสมาชิก ASEAN ปี 1997เป็นต้นมา ผลประโยชน์ที่ได้รับในการเข้าเป็นสมาชิกASEAN
                   
- ทำให้เศรษฐกิจของ ส ป ป ลาวได้เปลี่ยนเศรษฐกิจธรรมชาติและปรับเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจที่มีการเชื่อมโยงกับสากล
                                - ทำให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวและยับเข้าสู่เศรษฐกิจเศรษฐกิจของสากล
                                - ทำให้ ส ป ป ลาวมีบทบาทในการต่อรองและร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจกับสากล โดยเฉพาะการได้รับสิทธิพิเศษทางการค้า จากสหภาพยูโรป ในการใช้แหล่งทุนกำเนิดสินค้าที่มาจาก
ASEAN
                                - การเข้าร่วมเขตการค้าเสรี ASEAN ของ ส ป ป ลาวนับวันที่ 1/1/1998 เป็นต้นมาได้รับความช่วยเหลือด้านเศรษฐกิจ ดัดปรับบางระเบียบและหลักการจำนวนหนึ่ง
                                - ระบบมาตรถานและคุณนะภาพสินค้าของ ส ป ป ลาวได้รับการปรับปรุงเป็นก้าวๆมาและอื่นๆ
                 2.5.5. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับอียู (European Union)                   ในปี 1986 ลาวได้สร้างสายสัมพันธ์ทางการทูตระว่างสองฝ่าย ในวันที่ 29/04/1997 ได้ลงนามว่าด้วยความร่วมมือการพัฒนาเศรษฐกิจ และการค้าระว่างการค้าลาวกับ European Union ได้ลงนามอยู่ที่ลุกชำบัว กาช่วยเหลือของ European Union แก่ ส ป ป ลาว โดยเฉพาะแต่ปี 1991 เป็นต้นมาเพิ่มขึ้นเลื้อยๆในมูลค่าประมาณ110ล้านดอนรา และมี 16 โครงการเช่น: โครงการจักสูบน้ำ ริมงื่ม โครงการบุระนะบึงทาดหลวง โครงการจัดสันถิ่นถานให้ชาวอบพะยกกับคืนประเทศ โครงการแผนพัฒนาฟ้าน้ำตกทั่วประเทศโครงการพัฒนาชนนะบทขนาดเล็กโครงการควบคลุมพญาติติดต่อทางเพท  และอื่นๆ          2.5.6. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับสหรัฐอาเมริกา                              รัฐบานแห่ง ส ป ป ลาว และรัฐบานแห่งสหรัฐอาเมริกา ได้ลงนามทางการค้าร่วมกันแต่ปี 1997 แต่สัญญาดั่งกล่าวนั้นยังไม่ถูกรับรองจากรัฐสภาสะหะรัฐเทื่อ ต้นปี 2003 รัฐบาลสะหะรัฐได้ส่งหนังสือถึงรัฐสภาสะหะรัฐสนับสนุนการผ่าน NTR( NORMAL TRADE RELATION )ให้แก่ลาว แต่ยังอยู่ไนการพิจาระนาของรัฐสภาสะหะรัฐ (คะนะกรรมาธิการนิติกรรม)เพื่อเปิดสั้นทางให้แก่การพิจาระนา NTR ให้แก่ลาวในวันที่19/09/2003 รัฐบาลสาธารณรัฐ  ประชาธิปไตย  ประชาชนลาว และรัฐบาลสะหะรัฐอาเมริกาก็ได้ลงนามสัญญาการค้าสองฝ่ายร่วมกัน ปัจจุบันได้มีนักลงทุนของสะหะรัฐได้ลงทุนอยู่ในสาธารณรัฐ  ประชาธิปไตย  ประชาชนลาว มีจำนวน 50 โครงการถือว่าเป็นอันดับที่สองรองจากนักลงทุนประเทศไทย          2.5.7. ความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจ-การค้ากับราชอานาจักไทย                           ไปเคียงคู่กับความร่วมมือทางด้านการเมือง( โคลงบน ) นั้นความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ ( โคลงล้าง) ก็มีความสำคัญเพระมีเป็นสิ่งสนับสนุนความสำพันธ์ความร่วมมือของโคลงบนมีการขยายตัวถ้าหากว่าความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจมีการขยายตัวเว้ารวม เว้าเฉพาะความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจระหว่างไทย - ลาวก็มีหลายแขนงการที่กำลังดำเนินอยู่เป็นต้น
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านอุตสาหกรรมพลังงานไฟฟ้า
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านการกระเศษ
ป่าไม้
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านภาษี-อากร
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านโทรมนาคมขนส่งไปรษณีย์ และก่อสล้าง
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านการค้า-การท้องเที่ยว
                             - ความสัมพันธ์ร่วมมือทางด้านการเงิน-การธนาคาร
#. สถิติการลงทุนของต่างชาติในลาว                        นับจากปี  2531  จนถึงเดือนมกราคม  2548  มีโครงการจากต่างชาติที่ได้รับอะนุญาติให้มาลงทุนในลาว  รวมทั้งหมด  1,246  โครงการ  มีมูลค่าการลงทุน  5,397.8  ล้านเหรียญสหรัฐ  ในจำนวนนี้  ไทยเป็นประเทศที่เข้ามาลงทุนในลาวมากที่สุด  เป็นจำนวน  331  โครงการ  มีมูลค่าการลงทุน  2,277.7  ล้านเหรียญสหรัฐ  หรือประมาณร้อยละ  42.19 ของมูลค่าการลงทุนทั้งหมด ประเทศที่มีมูลค่าการลงทุนในลาวลำดับรองลงมา  ได้แก่  สหรัฐอเมริกา,  มาเลเซีย,  ผรั่งเศษ,  จีน,  เวียดนาม,  เกาหลี,  นอร์เวย์,  ไต้หวัน,  นิวซีแลนด์,  ออสเตรเลีย,  รัสเซีย,  อังกฤษ  และ  ญี่ปุ่น  แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า  ในระยะ  2-3  ปีที่ผ่านมา   ทางจีน  เวียดนาม  และเกาหลี  มีแนวโน้มที่จะขยายการลงทุนใน ส ป ป ลาวมากขึ้น       สำหรับสาขาที่ลาวได้รับเงินลงทุนจากต่างชาติมากที่สุด  คือ  การผลิตพลังงานไฟฟ้า  มีมูลค่า  2,274.3  ล้านเหรียญสหรัฐ  คิดเป็นร้อยละ  42.13  ของมูลค่าการลงทุนทั้งหมด  รองลงมาได้แก่  โทรคมนาคม,  โรงแรม-ร้านอาหาร,  อุตสาหกรรม-หัตถกรรม,  ภาคบริการ,  อุตสาหกรรมไม้,  การเกษตร,  การก่อสร้าง,  เหมืองแร่,  การค้า, ธนาคาร  และ  สิ่งทอ  ตามลำดับ      การลงทุนของไทยใน ส ป ป ลาว  สาขาที่มีการลงทุนมาก  ได้แก่  พลังงานไฟฟ้า,  โทรคมนาคม,  ธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยว,  อุตสาหกรรม-หัตถกรรม,  ธนาคาร,  เสื้อผ้าสำเร็จรูป,  การเกษตรและการเกษตรแปรรูป,  ตัวแทนการค้า,  การก่อสร้าง  และ  เหมืองแร่                     เฉพาะในปี  2547  การลงทุนของต่างชาติใน ส ป ป
หมายเลขบันทึก: 60196เขียนเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2006 12:17 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 กุมภาพันธ์ 2012 16:22 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท