นายอำเภอประจันตคาม จังหวัดปราจีนบุรี



นายอำเภอประจันตคาม

จังหวัดปราจีนบุรี

(จากอดีต-ปัจจุบัน)

ในสมัยรัชการพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ แห่งราชวงศ์จักรี ได้ทรงริเริ่มให้มีการจัดรูปการปกครองส่วนภูมิภาคแบบยุโรป ในรูปมณฑลเทศาภิบาลขึ้นในปี พ.ศ.๒๔๔๑ โดยมีหน่วยการปกครองเรียงลำดับ จากใหญ่ไปหาเล็ก ดังนี้

มณฑล – เมือง (จังหวัด) – อำเภอ – ตำบล – หมู่บ้าน

เมืองประจันตคาม หัวเมืองจัตวาได้ถูกยุบเป็นอำเภอในปี พ.ศ.๒๔๔๘ แล้วจึงเริ่มมีผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอตามลำดับดังนี้

รายพระนามและนามผู้ดำรงตำแหน่งนายอำเภอประจันตคาม

๑.หลวงภักดีเดชะ (เยื้อน บุณยสมิต) ๑๙ ต.ค.๒๔๔๙ – ๑ ส.ค.๒๔๕๑

๒.หลวงนิกรบริรักษ์ (แปลก) ๒๙ ส.ค.๒๔๕๑ – ๑๐ มิ.ย.๒๔๕๒

๓.ขุนบุพราษฎร์อำรุง (แปลก ทัศนียากร) ๑๐ มิ,ย.๒๔๕๒ – ๑ พ.ย.๒๔๕๖

๔.หม่อมเจ้าธงชัย ศิริพันธ์ ๑ พ.ย.๒๔๕๖ –๘ พ,ย.๒๔๕๘

๕.ร.อ.อ.หลวงอุไรไทยธุราการ (ชื่น ทังสุนันท์) ๘ พ.ย. ๒๔๕๘ – ๑ ต.ค.๒๔๕๙

๖.ร.ต.อ.ขุนประจำจันทะเขตต์ (ชาตรี หิรัญชาตรี) ๑ ต.ค.๒๔๕๙ – ๑๔ ส.ค.๒๔๖๒

๗.ขุนสรรค์ประสาสน์ (โต๊ะ วิเศษสุวรรณ) ๑ ก.ย.๒๔๖๒ – ๑๗ พ.ย.๒๔๖๕

๘.ร.อ.ต. สวัสดิ์ พักเกษตริน ๑๗ พ.ย.๒๔๖๕ – ๒๒ พ.ย. ๒๔๖๖

๙.ร.ต.อ.บรรจง ทองสวัสดิ์ ๗ ต.ค.๒๔๖๗ – ๒ ก.ค.๒๔๗๐

๑๐.ร.ต.อ.ขุนเกษมวิสัยการ (แฉล้ม ณ นคร) ๒ ก.ค.๒๔๗๐ – ๖ ก.ค.๒๔๗๒

๑๑.ร.อ.อ.หลวงสารักษ์สุรการ (พฤติ เตชะคุปต์) ๖ ก.ย.๒๔๗๒ – ๑๐ มิ.ย.๒๔๗๔

๑๒.ร.อ.อ.หลวงโยธีพิทักษ์ (โปร่ง สาทิศกุล) ๑๐ มิ.ย.๒๔๗๔ – ๒๒ มี.ค.๒๔๗๖

๑๓.ขุนจัยสุรสิทธิ์ (ทองอยู่ จัยสิทธิ์) ๒๔ ม.ค.๒๔๗๖ – ๑ เม.ย.๒๔๗๐

๑๔.นายชื้น จารุจินดา ๗ เม.ย.๒๔๘๐ – ๗ เม.ย.๒๔๘๑

๑๕.นายเปีย ศิวะบุณ ๗ เม.ย.๒๔๘๑ – ๑ ธ.ค.๒๔๘๒

๑๖.นายเฉลิม ยุชานนท์ ๑ ธ.ค.๒๔๘๒ – ๑ มิ.ย.๒๔๘๔

๑๗.นายชัยชาญ (เสนาะ) ยุวบูรณ์ ๑ มิ.ย.๒๔๘๔ – ๓๐ ก.ค.๒๔๘๔

๑๘.นายเสถียร กู้ประเสริฐ ๑ ส.ค.๒๔๘๔ – ๑ มิ.ย.๒๔๘๕

๑๙.นายบำรุง นิมนาทนนท์ ๑ มิ.ย.๒๔๘๕ – ๓ ก.ย.๒๔๘๕

๒๐.นายละเมียด หงส์ประภาส ๔ ก.ย.๒๔๘๕ – ๓๐ พ.ย.๒๔๘๖

๒๑.นายประสิทธิ์ สงวนน้อย ๑ ธ.ค.๒๔๘๖ – ๑๓ ก.ย.๒๔๙๑

๒๒.นายประทีป รามสูตร ๑๓ ก.ย.๒๔๙๑ – ๑ ก.ค.๒๔๙๕

๒๓.นายอำนาจ เปรมบุตร ๑ ส.ค.๒๔๙๕ – ๑ มิ.ย.๒๔๙๖

๒๔.นายประเวศ วิริยารมภ์ ๑๔ ก.ค.๒๔๙๖ – ๑๖ ก.ค.๒๕๐๐

๒๕.นายผดุง พงศ์สิฏานนท์ ๒๖ ส.ค.๒๕๐๐ – ๑๗ มิ.ย.๒๕๐๙

๒๖.นายพิเชษฎ์ ฤดีชื่น ๕ ก.ค.๒๕๐๙ – ๑ มิ.ย.๒๕๑๔

๒๗.นายประภัสสร์ มัณฑุสินธุ์ ๑ ก.ค.๒๕๑๔ – ๑๘ ก.ค.๒๕๑๖

๒๘.นายชาญ กุยยกานนท์ ๑๘ ก.ค.๒๕๑๖ – ๘ ม.ค.๒๕๑๙

๒๙.นายปรีชา รักษ์คิด ๑๐ ม.ค.๒๕๑๙ – ๑๓ ก.ค.๒๕๑๙

๓๐.นายกวี เทศสวัสดิ์ ๑๔ ก.ค.๒๕๑๙ – ๒๔ พ.ย.๒๕๒๒

๓๑.ร้อยเอก ประจักษ์ มาสุวัตร ๔ ธ.ค.๒๕๒๒ – ๑๑ ม.ค.๒๕๒๓

๓๒.นายวิทยา อุยะเสถียร ๑๒ พ.ค.๒๕๒๓ – ๒๐ ส.ค.๒๕๒๓

๓๓.นายจำลอง เทพบรรยง ๓๐ ส.ค.๒๕๒๓ – ๗ ก.ค.๒๕๒๕

๓๔.นายสุนทร มากบุญ ๑๒ ก.ค.๒๕๒๕ – ๖ ต.ค.๒๕๒๙

๓๕.นายสมหมาย ฉัตรทอง ๖ ต.ค.๒๕๒๙ – ๒ ธ.ค.๒๕๓๑



ที่ว่าการอำเภอประจันตคามมุมตรง


ที่ว่าการอำเภอประจันตคามมุมซ้าย

ที่ว่าการอำเภอประจันตคามมุมขวา


สถานีตำรวจภูธรอำเภอประจันตคามหลังเก่า

มุมมองของที่ว่าการอำเภอและสถานีตำรวจจากทางรถไฟ

๓๖.นายวิจิตร โสดานิล ๒ ธ.ค.๒๕๓๑ – ๒ ก.ค.๒๕๓๓

๓๗.นายวันชัย ฤกษ์อร่าม ๒ ก.ค.๒๕๓๓ – ๑๕ ม.ค.๒๕๓๗

๓๘.นายวิฑูรย์ นาคะเสถียร ๑๗ ม.ค.๒๕๓๗ – ๑ พ.ย.๒๕๔๑

๓๙.นายช่วงชัย เปาอินทร์ ๒ พ.ย.๒๔๔๑ – ๒๐ พ.ย.๒๕๔๓

๔๐.นายประจักษ์จิตต์ อภิวาท ๒๐ พ.ย.๒๔๔๓ – ๑ พ.ย.๒๔๔๗

๔๑.นายวิรัต อสัมภินานนท์ ๑ พ.ย.๒๔๔๗ – ๒๔ ม.ค.๒๕๕๓

๔๒.นายวิทยา สโรบล ๒๒ ก.พ.๒๕๕๓ – ๑๗ พ.คง๒๕๕๔

๔๓.นายธวัฒน์ชัย ม่วงทอง ๑๘ พ.ค.๒๕๕๔ – ๓๐ ก.ย.๒๕๕๗

๔๔.นายพิพิธ ภาระบุญ ๒๖ ม.ค.๒๕๕๘ – ๓๐ ก.ย.๒๕๕๙

๔๕.นายปิยะพันธ์ นาคะเสถียร ๗ ต.ค.๒๕๕๙ - ๑๖ ต.ค.๒๕๖๗

๔๕.นายวิระพันธ์ ดีอ่อน   ๑๖ ต.ค.๒๕๖๐ - ปัจจุบัน




,



หมายเลขบันทึก: 592414เขียนเมื่อ 15 กรกฎาคม 2015 10:52 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 ธันวาคม 2017 09:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ประจันตคาม

ประจวบคีรีขันต์

ประจันต์คีรีเขต(เคยได้ยินชื่อนี้จากที่ไหนจำไม่ได้)

ที่ว่าการศาลอำเภอ ตามแบบนี้ ที่อำเภอปากพะยูน ยังมีอยู่

ผู้อำนาจจะรื้อถอนหลายครั้ง แต่พวกผมขอไว้

ตอนนี้เป็นที่ทำการเทศบาลตำบลปากพะยูน

เป็นที่ว่าการอำเภอหลังที่ 2 ของปากพะยูน

ที่ว่าการอำเภอหลังที่ 3 ย้ายไปอยู่ เทศบาล อ่าวพะยูน

(ศาลอำเภอ)

"อำ เภอถิ่นนี้ ห่างไกล

เภอ เพ้อฝัน หลงไหล ถิ่นนี้

ปาก กระซิบ บอกไคร เชื่อเล่า นาแม่

พะยูน นามปลาชี้ ชื่อตั้ง อำเภอ"



พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท