ฉบับที่ ๐๒๓ เยี่ยมเครือข่ายจังหวัดนราธิวาส


เยี่ยมเครือข่ายจังหวัดนราธิวาส

เมื่อวันที่ 4 พ.ย. 57 ทีมวิจัย ศจย. ลงพื้นที่เยี่ยมเครือข่ายจังหวัดนราธิวาส ถอดบทเรียนและเก็บข้อมูลความสัมพันธ์ของเครือข่าย มีเรื่องที่น่าสนใจ หลายเรื่อง เช่น วิธีเลิกบุหรี่วิถีมุสลิม โดยรพ.สต.เจะเก ไปปฏิบัติที่บ้านเวลา 5 วัน น่าทึ่งมาก สำเร็จเลิกได้นานกว่า 6 เดือน ถึง 64% (18 จาก 28 คน) , การใช้ MOU ระดับหมู่บ้าน เป็นการสร้างความมีส่วนร่วมระดับชุมชนให้ยอมรับทั่วกันก่อน ถึงจะประกาศเป็น MOU เช่น กติกาไม่ขายบุหรี่ให้เด็ก, ไม่สูบบุหรี่ในศาสนสถาน ฯลฯ , ความสัมพันธ์ด้านคุ้มครองผู้บริโภคกับฝ่ายสาธารณสุขรัฐกลันตัน รอบนี้มีเวลาน้อย ยังไม่ได้แวะชม อุทยานแห่งชาติ ฮาลาบารา ซึ่งเป็นป่าดงดิบผืนใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ต้นปีหน้าคาดว่าอาจได้ไปแน่

<p style="margin-left: 20px;"> </p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal; text-indent: 36pt;" class="MsoNormal"> และภายในวันเดียวกันนั้น ทราบจากคุณรุสนี มะ ว่า มีการประชุมวันที่ 3-4 พ.ย. 57 ซึ่งขณะนั้นทีมศจย.อยู่ที่สสจ.นราธิวาสพอดี จึงได้มีโอกาสไปให้กำลังใจ คณะวิจัย มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งจัดอบรม อสม. ตำบลละ 2 คน ทุกตำบลในจังหวัดนราธิวาส เสริมหนุนการขับเคลื่อนจังหวัดปลอดบุหรี่ นานๆ เจอกันที ที่ โรงแรมอิมพิเรียล จังหวัดนราธิวาส เลยนำรูปมาฝากชาว Go to Know ได้ชมกันค่ะ </p> <p style="margin: 0cm 0cm 0pt; line-height: normal; text-indent: 36pt;" class="MsoNormal"> </p> <?xml:namespace prefix = o ns = "urn:schemas-microsoft-com:office:office" />

โดย ศจย.

เว็บไซต์ : www.trc.or.th

</span> </font></span></span>

หมายเลขบันทึก: 580315เขียนเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2014 09:14 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 พฤศจิกายน 2014 09:14 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

ไปไกลมากเลยนะครับ

ในพื้นที่นราธิวาสมีคนสูบบุหรี่มากกว่าภาคกลางไหมครับ

สนใจป่า ฮาลาบารา รออ่านๆครับ

ขอบคุณนะคะ คุณ ขจิต ฝอยทอง ที่ติดตาม ประทับใจมากค่ะที่มีผู้ให้ความสนใจในเรื่องยาสูบ

ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.) ได้ร่วมกับ สำนักงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ (HISO) จัดทำแผนที่แสดงแผนที่ข้อมูลอัตราการสูบบุหรี่ ท่านสามารถ download รายละเอียดได้ ที่นี่

http://trc.or.th/th/component/k2/item/123-%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94-50-54/123-%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AB%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94-50-54.html

สถานการณ์การบริโภคยาสูบรายจังหวัด
ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ วิเคราะห์ข้อมูลจาก การสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา พ.ศ.2554 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่า

  • 10 จังหวัดแรกที่มีอัตราการสูบบุหรี่ปัจจุบันสูงสุด ได้แก่ แม่ฮ่องสอน สตูล ปัตตานี ระนอง นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ขอนแก่น กาญจนบุรี ตรัง และหนองบัวลำภูตามลำดับ
  • จังหวัดที่มีอัตราการสูบบุหรี่ต่ำสุด คือ นนทบุรี จากเดิม ที่จังหวัดกรุงเทพฯ เคยมีอัตราการสูบบุหรี่ต่ำสุดในปีพ.ศ.2550
อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท