นวัตกรรมอุดมศึกษา (6) : คุยเรื่อง Community Engagement


'Engagement is how we do things at CQUniversity, it is our DNA'

วันที่ 17 พฤษภาคม 2557 (ต่อ)

13.30-16.00 น. เราประชุมกับ Prof. Pierre Viljoen จาก Engagement Australia และ Central Queensland University (CQU) เรื่อง Community Engagement

Prof. Pierre Viljoen ถึง background ของมหาวิทยาลัย Vision ที่ set เมื่อ 4 ปีครึ่งก่อน ‘…to become Australia’s most “engaged” university’ การ defined and institutionalized ประสบการณ์ของ CQU เป็นอย่างไร

Critical to success ได้แก่

  • Effective leadership ร่วมกับ shared, clearly articulated engagement strategy
  • การให้คุณค่ากับ community-based work ว่าเป็นประสบการณ์ทางการศึกษาที่มีความหมายและเป็น legitimate mode of scholarly endeavor รวมทั้งให้การ recognized ส่วนที่เป็นการกระทำของ professional and academic staff ด้วย
  • Engagement and community partnerships จะสำเร็จได้ต้องอาศัย infrastructure
  • การประเมิน benefits and impacts จะต้องพิจารณาทั้งในมุมมองของสถาบันและของชุมชน
  • สถาบันจะต้องเต็มใจที่จะลงทุนใน professional development and orientation activities สำหรับ staff และนักศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะที่จำเป็น

CQU’s key strategies ในการสร้างวัฒนธรรมและการปฏิบัติ engagement ที่เข้มแข็ง :

  • ได้รับการสนับสนุนจาก all levels of leadership and management และถูก firmly entrenched อยู่ในวิสัยทัศน์ พันธกิจ แผนยุทธศาสตร์ และโครงสร้างของหน่วยงานในมหาวิทยาลัย
  • Capacity building ของ staff, students และ community partners
  • Embedding Engagement Workshop ที่ปรับให้เหมาะสมกับ faculty และหน่วยงานอื่นในมหาวิทยาลัย
  • Rewards and recognition systems/ processes
  • Engagement เป็น inherent requirement ใน performance reviews and academic promotion
  • Tracking and measuring of engagement activity
  • Benchmarking and key performance indicators
  • Effective promotion and communication of engagement activity
  • มี tools และ resources ที่เกี่ยวข้อง พร้อมใช้สำหรับ staff, students และ community partners

'Engagement is how we do things at CQUniversity, it is our DNA'

ต้องยอมรับว่าเขาเอาจริงในเรื่องนี้และเข้มแข็งจริงๆ

มี Positioning Document on Engagement detailing a nine point engagement philosophy and an engagement model กล่าวถึง Engagement strategy 2011-2014 ที่ develop ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แสดงเป็น conceptual diagram

ภายในห้องประชุม

CQUniversity’s Regional Engagement and Participation Process (REAP Process) ตาม spectrum ตั้งแต่ Inform, Consult, Involve, Collaborate และ Empower การก้าวหน้าจากซ้ายไปขวา ระดับของ public impact จะยิ่งสูงขึ้น

ต้องมี Stakeholder Engagement Plans

ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้เกิด engagement คือ relationship

CQUniversity ได้รับ Opal Award ในเรื่องนี้ Rewards สำคัญคือ public recognition

Tracking & measuring ก็สำคัญ

เวลาจะเลือกทำงานเรื่องใดก็ต้องดูว่ามี school หรือ program ในเรื่องนั้นไหม ถ้าไม่มี capacity ก็สามารถร่วมมือกับส่วนที่มีเช่น business ได้

Prof. Pierre Viljoen และ อ.ดร.กีร์รัตน์ สงวนไทร อธิการบดี มวล.

ดิฉันฟังจากตัวอย่างที่เขายกมาเล่าและจากประสบการณ์การทำงาน ทำให้มองเห็นว่าเรื่องของสุขภาพมีโอกาสสูงที่จะทำให้เกิด University-Community Engagement ปกติการทำงานด้านสุขภาพกับชุมชน เราจะต้อง put effort มากอยู่แล้ว ก็น่าจะพัฒนาต่อไปและยกระดับให้เป็นงาน University-Community Engagement

ส่วนวิทยากรจากต่างประเทศอีกท่านหนึ่งคือ Dr. John Craig จะเดินทางไปพูดเรื่อง Active Learning ที่ มวล. ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2557

วัลลา ตันตโยทัย

บันทึกเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2557

หมายเลขบันทึก: 570481เขียนเมื่อ 15 มิถุนายน 2014 15:24 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 มิถุนายน 2014 15:24 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

น่าสนใจมาก

อันนี้อาจารย์มาบรรยายแล้วหรือครับ

ส่วนวิทยากรจากต่างประเทศอีกท่านหนึ่งคือ Dr. John Craig จะเดินทางไปพูดเรื่อง Active Learning ที่ มวล. ในวันที่ 19 พฤษภาคม 2557

บรรยายไปแล้วค่ะอาจารย์ขจิต วันนั้นติดภารกิจที่กรุงเทพฯ เลยไม่ได้ฟังด้วยค่ะ

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท