บทสาขาที่ 5.1 เรื่อง จุดกำเนิดส่วนดนตรีแห่งโลกมุสลิมเข้าสู่สมัยต้นรัตนโกสินทร์ (3)


.

คำสำคัญ (Tags): #ดนตรี
หมายเลขบันทึก: 553555เขียนเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2013 17:00 น. ()แก้ไขเมื่อ 14 เมษายน 2014 12:22 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

ดนตรีโลกพุทธะ เริ่มตั้งแต่สมัย พระเจ้าอโศกมหาราช ที่มองเห็นดนตรีตั้งแต่ยุค ฟิวดัล ที่นักบวชสามารถเข้าครอบครอง ร่วมอาณาเขต ของกษัตริย์ มีผลชี้นำเหล่ากษัตริย์ด้วยการบรรเลงมายาคติให้กษัตริย์ฟัง แล้วกษัตริย์ หลงไปในมายาคติ ในสุนทรียะแห่งผลของดนตรี

พระเจ้าอโศก จึงมีกุสโลบายที่จะ ทำให้ นักบวช ไม่มีอำนาจเหนือกษัตริย์ เลยเริ่มใส่ตัวโน๊ตต่างๆเข้าในตำรา. ตำราที่พระเจ้าอโศกเลือก สอดแทรกคือ ไตรปิฎก เพราะง่ายที่จะแทรกใส่ตัวโน๊ตที่ พระองค์ต้องการลงไปในนั้น เพราะ เจ้าของตำราเดิม ก็ยังไม่รู้ด้วยซ้ำว่าจะมีการเขียนตำรา ท่านจากไปหลายปีแล้วกว่าจะมีผู้ดำหริ รวบรวมเป็นตำราต้นทางแห่งเสียงดนตรีโลกพุทธะนั้น ท่านมิได้ลงนามหน้าปกว่ามาจากท่านด้วยซ้ำดนตรีที่แยบคายนั้น ยังใช้มาถึงทุกวันนี้ ในไตรปิฎก มีตัวโน๊ตต่างๆ มากมายหลายที่ ที่คือ ผลประโยชน์ของดนตรีที่แยบคายนั้น

แล้วจะนำมาลงให้อ่านเรื่อยๆนะ. และทุกวันนี้ จะมีการบรรเลงดนตรีนี้เสมอ ในเวาลาเช้า ที่ตลาดนัด จะมีการบรรเลงมายาแห่งดนตรี ให้เราชื่นชม เป็นคอนเสริท ที่มาบรรเลงกันโดยมิต้องนัดหมายไปแล้ว. ตลาดไหนมีอาหารอร่อย มีอาหารแปลก มีการให้ซองใส่เงินเยอะๆ มีคนทำผิดแล้วคิดว่าการฟังบรรเลงนั้นไถ่โทษให้ตนได้แถวนั้นเยอะๆ ก็จะไปบรรเลงที่นั่นกันหน้าตา.

แต่มีมาเฟียในคอนเสริทเกิดขึ้นมาแล้วมากมาย การแสดงดนตรีนั้นก็ยุ่งยากขึ้น เพราะ ต้องจ่ายค่าที่ ค่าทาง ค่าถิ่น กว่าจะแสดงคอนเสริทได้. แต่พวกนักดนตรีเขาเรียนรู้เองในระบบเหล่านั้น. ดนตรีพุทธะนี้ เกิดในอินเดีย แต่ไม่เติบโตในอินเดีย ทุกวันนี้ เดินเป็นสิบกิโลในอินเดีย ยังเล่นดนตรีนี้ไม่ได้เลย เพราะมีแต่ขอทานกับคนจน พวกนี้เขามีศิลปะนะ แต่ไม่มีเวลาฟังดนตรีนี้ เพราะ จนข้นแค้น ขอทานอยู่ ก็ไม่มีโอกาสฟังดนตรีนี้. แต่ประเทศไทย และ อินโดจีน เป็นแหล่งที่ในน้ำมีปลาในนามีข้าว ดนตรีเช่นนี้ วามารถเนิบโตในภูมิภาคนี้ได้อย่างยั้งไม่อยู่ด้วยซ้ำ.

แล้วจะหาข้อมูลพวกเครื่องดนตรี พวกตัวโน๊ต พวกเพอคัชชั่น ของ ดนตรีพุทธะมาให้เพิ่มเติมภายหลังนะ หากพระเจ้าให้โอกาส

ยุครัตนโกสินทร์ แขก อาจจะมาจาก การเรียกคนอินเดียว่าแขก (ปัจจุบัน ก็ ยังเรียกเช่นนั้นอยู่นะ)

ความรู้ที่เป็นปัจจุบัน และหลักฐาน พยานสังคมมีเช่นนี้ ฉะนั้น พระพุทธเจ้าคือ คนอินเดีย. ดนตรีแขก ก็ควรมาจากอินเดีย

ในเมื่อ อินเดีย กำเนิด พุทธะ. ตนตรีนี้ น่าจะเป็นดนตรี พุทธะ ได้มากกว่า ดนตรีมุสลิมที่ท่านตั้งขึ้นมาเอง โดยอนุโลมไม่มีใครแย้ง

ด้วยความเคารพนะครับ หลักฐานมันน่าเสนอแนะ ในข้อสังเกตุจริงๆ เพราะ จะได้ไม่ปล่อยข้อมูลผิดๆไปให้ลูกหลานไทยเสพไปผิดๆน่ะครับ

มีหลักฐานอื่นไม่ว่าขัดแย้ง หรือจะเพิ่มเนิม ก็เสนอไว้ให้เรา และ สาธารณะ ศึกษากันก็จะเยี่ยมมาก ขอบคุณล่วงหน้า

กระผมดีใจที่ได้เจอของจริงและยินดีพร้อมที่จะรับความรู้ แต่หลักใหญ่นั้นกระผมจะสืบทางหนังสือ Google กับที่ซื้อหามาได้ และ ศิลปินใน you tube ไปค้นให้ กับประสบการณ์ที่เคยเป็นศิลปินต่างด้าว ทางสายนั้นเขาเรียกว่าปรัชญาตะวันตกกัน โดยมา ณ จุดดินแดนนั้นเริ่มออกบอลข่าน แต่ทางอีกสายหนึ่งเขาเรียกว่าปรัชญาอินเดีย โดยเริ่มจากแถบแม่น้ำสินธุแล้วเข้าสู่อินเดียกันหรือเปล่ากระผมไม่แน่ใจเพราะยังไม่ได้ศึกษาปรัชญาอินเดีย นี้คือจุดอ่อนของกระผม เพียงแค่ได้ตาม ดร.เจโทรเฒ่าเข้าไปชมดนตรีพระเวทของราหมณ์แค่นั้น

จริงครับยุครัตนโกสินทร์ คำว่าแขกหมายถึงคนอินเดีย หลักฐาน พยานสังคมมีเช่นนี้ แต่กระผมไม่ได้ศึกษาคน กระผมกำลังศึกษาเสียงที่มนุษย์แถบนั้นได้ร้อยเรียงเสียงไว้ อาจไม่ใช่เสียงวัฒนธรรม อาจไม่ใช่เสียงดนตรี และอาจไม่ใช่ญาณสัญชาติทางเสียง ทุกอย่างเป็นการคาดเดาเพราะกระผมเกิดไม่ทันเพียงแค่ใกล้ความจริงก็พอแล้ว ดนตรีไทยเองก็สร้างความึนงงให้กับชนรุ่นหลังเหมือนกันเช่นคำว่าทางที่กระผมพอจะรู้มีอยู่ 3 กลักทางคือ 1 ทางดำเนินทำนอง 2 ทางระดับบันไดเสียง 3 ทางเสียงสำเนียง 4 ทางลด เช่น เพลงนี้ดำเนินทำนองเขมรสำเนียงเสียงมอญระดับบันใดเสียงชวา จะให้ตอบเด็กอย่างไรว่าเพลงนั้นชาติอะไร เพราะเด็กเข้าใจว่าเมื่อผสมกันแล้วลูกที่ออกมาจะเป็นอย่างไร ความคิดนั้นมันไม่ใช่ดนตรีแล้ว ส่วนดนตรีแห่งพุทธะนั้นมีแน่นอนเพราะพระพุทธเจ้าตรัสรู้ว่าต้องใช้สายกลางนั้นเพราะมีดนตรีจากเทวะ (ตามหนังสือ) ดนตรีไทย สนับสนุนพิธีประเพณีของสังคมไทยประกอบศาสนามานานอยู่แล้ว ยึดเป็นอาชีพได้ เมื่อพุทธเข้าเมืองไทยก็ถูกสงฆ์และผู้รู้แยกมิให้เกี่ยวข้องกัน ก็สมน้ำหน้าที่เล่นไม่รู้จักเวลาเล่น เมามายโวยวายจนสงฆืจำวัดไม่ได้อยู่พักหนึ่ง และอย่างที่กล่าวมาแล้วดนตรีไทย จะใช้ทางระดับบันไดเสียง Mode ประเภทหนึ่ง(มีแต่จีนแต้จิ๋วอย่างเดียวที่จะต้องลอกสำเนียงให้เหมือนทั้งที่รู้ว่าช่องว่างระหว่างเสียงไม่เท่ากันฟังแล้วเหมือนคนจีนพูดสำเนียงไทยไม่ชัดแต่ไปล้อเขาว่าคนจีนพูดสำเนียงไทยไม่ชัด) สำหรับชาวต่างชาติ เช่นเพลงวิลันดาโอด วิลันดาอาจหมายถึงเรียกว่าฮอลันดา เพลงฝรั่งรำเท้า อาจหมายถึงแขกขาว อิเหนา -บุษบา อาจหมายถึงแขก แต่แขกชวาอาจหมายถึงอินโดเนเชียเช่นเพลง บูเซ็นซ็อค คนไทยเวลาสั่งเล่นเพลงจะบอกว่าให้เล่นเพลงแขกบ้านแขกเมืองหน่อยนั่นหมายถึงฝรั่งด้วยแล้วดนตรีไทยจะใช้ทางระดับบันไดเสียงไทย -  Mode นี้ อินเดียไม่มี เกิดจากการเรียงร้อยชุดเสียงต่างกันแต่ที่นำมาใช้กับเพลงทางเครื่องดนตรีไทยได้เพราะ อิทธิพลงของชุดเรียงเสียงของตะวันตกต่อเชื่อมให้ จะมีที่รู้เพียงมีโคลงสร้างให้เห็นในรูปแบบเพลงทยอย

ปล. 

ดนตรีบรรเลงมายาคติให้กษัตริย์ฟัง แล้วกษัตริย์ หลงไปในมายาคตินั้น เป็นดนตรีไร้จรรยา นำใช้เพื่อผลประโยชน์และการเมือง

มีอีกสิ่งหนึ่งครับไปนั่งชั่งใจอยู่นาน สมควรที่จะต้องกล่าวในที่นี้แล้ว คือดนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทร์มีเพลงชั้นสูงระดับ ตระ หน้าพาทย์ ใช้สำหรับบูชาครูและอัญเชิญนำไปใช้ในพิธีมงคลชั้นสูงได้ เพลงประเภทดังกล่าวใช้อัญเชิญพระพุทธเจ้าลงจากสวรรค์ทางบันไดแก้วเช่นเพลงสาธุการ และตระเพลงแทนองค์เทพเช่น เพลงตระประจำองค์พิคเนศวร เพลงตระประจำองค์พระพิลาบ (ปางหนึ่งขององค์ จิฟวาย)เพลงตระประจำองค์อุมมา เพลงตระประจำองค์อินทร์ เพลงตระประจำองค์นารายณ์ (ไม่ใช่ราม)  เพลงตระประจำองค์ฤาษีนารอด(ตระเสมอเถร) ถัดรองลงมาก็มีกลุ่มเศียรครูดนตรีไทย ลงไปถึงเทพสัตว์พญาครุตใช้เพลง(แผละ)และมีตระเพลงอีกหลายเพลงอย่างเช่นตระเพลงบาทสกุณี เพลง..ฯขอกล่าวแค่นี้พอแล้ว.. แต่พิจารณาในด้านการเรียงร้อยของช่วงเสียง ก็ ไม่ได้นำการเรียงร้อยระบบช่วงเสียงของอินเดียมาใช้เพราะอินเดียจะมีช่วงเสียงครึ่งเสียงบ้าง เต็มเสียงบ้าง แต่ของไทยใช้ช่วงระหว่างเสียงเท่ากันหมดทุกเสียงฉนั้น ตระเพลงไทยย่อมมีสำเนียงไทยแท้ใช้สำหรับงานพิธีกรรม.

ปล.เมื่อพราหมณ์เป็นอินเดีย แล้วฮินดูเป็นอะไร แล้วไทย - พราหมณ์หรือ ไทย - ฮินดูและหรือ ไทย - ฮินดูพราหมณ์..อย่างไร.

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท