"ความเหี่ยว" ในพระเนื้อผง (หลักการข้อที่ 4)


ขอนำ "ความเหี่ยว" มาให้ดูกันชัดๆอีกสักรอบ

เพราะผมสังเกตว่า .........

พระที่เซียน "พระพลาสติกแต่งผิว" โพสต์เล่นๆหลอกมือใหม่หัดส่องนั้น 
ผิวยังเรียบๆ และตึงเปรี๊ยะ ตามปกติของผิวพลาสติก หรือเรซิน

ที่ต่างจากหลักการของผิวพระเนื้อปูนธรรมดา และเนื้อปูนเก่า ที่ยังไงๆ ก็เหี่ยวแน่นอน 
เก่ามากเหี่ยวมาก ใหม่ๆเหี่ยวน้อย ไม่เหี่ยวก็มักจะเก๊ 

Photo

พระที่ล้างมาจะเหี่ยวในเนื้อชัดๆแบบนี้ครับ

 

 
 Photo
พระผิวเดิมๆจะเหี่ยวทับซ้อนแบบนี้ครับ
 

Photo

เมื่อนำพระไปส่องสะท้อนแสง จะเห็นความเหี่ยวแบบนี้ครับ

Photo


(ยกเว้นพระรุ่นใหม่ที่ทำออกมาใหม่ๆ จากโรงงาน ที่ใช้มวลสารละเอียด ใช้เครื่องอัด จะดูแทบไม่เหี่ยวเลย แต่พออายุสิบปีขึ้นไปก็เริ่มเหี่ยวเหมือนกัน)

Photo
ฉะนั้น เวลาใครส่งพระมาให้ดู ง่ายๆเลย ผมจะดูที่ความเหี่ยวนี้ก่อน
เพราะดูง่ายๆ 
เห็นตึงๆ เนื้อพลาสติก เก๊แน่นอน
อิอิอิอิอิอิอิอิอิอิ

ถ้าเนื้อเหี่ยว ค่อยมาดูพิมพ์อีกที

ถ้าพิมพ์ผ่านก็ไปไล่หลัก 1-5 อีกรอบ

ผ่านหมดก็แท้ ไม่ผ่านก็เก๊ เท่านั้นเอง

ง่ายๆแค่นี้ครับ

หมายเลขบันทึก: 552374เขียนเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2013 10:15 น. ()แก้ไขเมื่อ 3 พฤศจิกายน 2013 10:19 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

เข้าหลักอนิจจังครับ เป็นหลักธรรมดาแต่คนมองไม่ค่อยจะเห็น เปรียบเทียบบ่อยมากสำหรับเรื่องนี้ ส่วนใหญ่เปรียบเทียบกับคนว่า จะต้องแก่และเหี่ยวย่นตามอายุขัยนั่นเอง

นายฤทธิกร ชอบทำทาน ลิ้งรมดำ

เรียนอาจารย์ที่เคารพบทเรียนนี้ทำให้เห็นชัดเจนขึ้นขอบคุณมากเลยครับ

ขอบคุณ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท