ข่าวดี จากกระทรวงการคลัง


การกู้เงินมาทำธุรกิจครอบครัว ไม่เป็นหนี้ครัวเรือน vs กู้ 2.2 ล้านล้านบาท ไม่เป็นเงินแผ่นดิน

หนี้ครัวเรือนไทยอยู่แค่64% คลังสวนธปท.นับผิด ชี้แนวโน้มเริ่มขาลง

Thai Post เศรษฐกิจ 21 August 2556 http://www.thaipost.net/news/210813/78132

...กรณีที่ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ออกมาระบุถึงระดับหนี้ครัวเรือนในไตรมาส 1 ปี 2556 ที่อยู่ที่ระดับ 77.51% ต่อจีดีพี หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 8.97 ล้านล้านบาท...คลัง...เห็นว่าควรมีแยกประเภทของสินเชื่อเพื่อใช้ในการคำนวณระดับหนี้ครัวเรือนให้มีความชัดเจนขึ้น โดยอาจมีการพิจารณาถึงสาเหตุของการขอสินเชื่อจากประชาชนเป็นสำคัญด้วย.. หากประเมินจากยอดการปล่อยสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ทั้งระบบ ที่ราว 3.7-3.8 ล้านล้านบาท ซึ่งในส่วนนี้ประกอบด้วยสินเชื่อเพื่อการอุปโภค-บริโภคส่วนบุคคล ที่นับเป็นหนี้ครัวเรือนอยู่ที่ราว 3.06 ล้านล้านบาท เติบโตเพิ่มขึ้น 14.2% และสินเชื่อเพื่อการประกอบธุรกิจอยู่ที่ราว 7.62 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นการเติบโตเพิ่มขึ้นที่ 21.8% จะสะท้อนอย่างชัดเจนว่า ระดับหนี้ครัวเรือนที่แท้จริงในปัจจุบันของประเทศไทยอยู่ที่ระดับ 64% {จากข้อมูลหนี้ครัวเรือนของ ธปท. ที่ระดับ 77.51%] ขณะที่อีก 13% เป็นหนี้ที่เกิดจากการกู้เงินเพื่อประกอบธุรกิจ[แบบครอบครัว]...   

   Now we can see the logic behind 2.2 trillion baht loan being not a "real" loan [that all Thais have to pay back]. Because it is a loan to develop businesses [for some families]. But Thai people still have to pay back the loan -- just as families have to pay back family loans -- regardless of what the loans are for.

This argument reminded me of the folklore about ศรีธน... One must ask for definitions of all words in context when dealing with government departments. Where is "plain and simple" language?

หมายเลขบันทึก: 546145เขียนเมื่อ 21 สิงหาคม 2013 11:55 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 สิงหาคม 2013 02:34 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

 

 

    ขอบคุณ ความเคลื่อนไหวของหนี้ ครัวเรือน ค่ะ

 

หนี้ครัวเรือนส่วนหนึ่งมาจากหนี้ที่คนมีเงินเดือน เสียภาษีเริ่มซื้อบ้านที่อยู่อาศัย ซื้อรถ ซึ่งสหกรณ์ออมทรัพย์ต่าง ๆ เรียกว่าหนี้เพื่อความมั่นคง หนี้ประเภทนี้โดยเฉพาะที่อยู่อาศัย พวกเขามักเต็มใจและเขาบริหารได้ ไม่ใช่เรื่องเสียหาย ควรแยกออกมา บางทีตัวเลขก่อให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นเรื่องเลวร้าย ทำนองเดียวกันหนี้ที่นำมาเป็นทุนทางธุรกิจก็ควรแยกพิจารณา

การกู้เพื่อลงทุนโครงสร้างพื้นฐานที่บอกว่าทำให้ทุกคนเป็นหนี้เพราะเอาภาษีของทุกคนมาจ่าย ต้องมองด้านที่จะก่อให้เกิดงานและรายได้ที่จะกลับคืนมาและทุกคนรวมทั้งลูกหลานจะได้รับประโยชน์ด้วย และเป็นหนี้ในวันนี้เพื่อสร้างสิ่งที่จำเป็น ก็ดีกว่าเป็นหนี้ในวันหน้าที่จะต้องเป็นหนี้เพิ่มขึ้นมากกว่านี้เพราะต้นทุนทุกอย่างย่อมเพิ่มขึ้น และเสียโอกาสในการพัฒนาประเทศ

Hi Dr. Ple  : Thank you for the 'word' ;-)

Hi GD : You put it in better words -- "...บางทีตัวเลขก่อให้เกิดความรู้สึกว่าเป็นเรื่องเลวร้าย ทำนองเดียวกันหนี้ที่นำมาเป็นทุนทางธุรกิจก็ควรแยกพิจารณา..." -- redefining "household debt" would reduce the figure for the debt and make us feel better too. We do understand the vagueness of this 'economic indicator' and arguments like : If Hosehold debt is used to increase assets and generate more incomes, we will all borrow more. If household debt is used to maintain expenses and certain habits, we will lose more opportunities to improve. For Thailand the household may have high level of "car loans", "cost of living (including phones and other gadgets)", "cost of education" ...

A detailed break up of household debts would present a better picture for economic analysis and a much better argument from government department which should have 'statistics' at hand. ;-)

NB.

Wikipedia says: Household debt is defined as the amount of money that all adults in the household owe financial institutions. It includes consumer debt and mortgage loans. A significant rise in the level of this debt was a cause of the U.S. and European economic crises of 2007–2012. Several economists have argued that lowering this debt is essential to economic recovery in the U.S. and selected Eurozone countries.

The Australian Bureau of Statistics (http://www.abs.gov.au/AUSSTATS/[email protected]/Lookup/4102.0Main+Features60March%202009) says: "...Household debt is not in itself a cause for concern, as incurring a debt presents opportunities as well as risks. However, the rapid increase in household debt relative to the growth of income and wealth attracted a lot of attention. While some of the increase was used to finance consumption, most was used to buy assets. One concern about this high level of debt is that in the event of an economic downturn some households may have trouble servicing their debt. Households with high levels of debt that wish to reduce their level of gearing may be affected by falling asset prices...."

การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของ household debt ในประเทศไทยโดยเฉพาะปีนี้ ที่ใคร ๆก็นึกถึงสาเหตที่มีการซื้อรถกันมากเพราะนโยบาย(ประชานิยม) ของรัฐบาล ข้อสังเกตุส่วนตัวจากการสังเกตุพฤติกรรมของข้าราชการ- อาจารย์ที่ทำงานมาไม่นานในปัจจุบันจำนวนมาก "กล้า" กู้เงินจากหน่วยงานที่จัดสวัสดิการให้ เช่น ในกรณี ครู มักกู้จากสหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนียน ธนาคารที่มีเงื่อนไขพิเศษในเรื่องดอกเบี้ย ฯลฯ มาซื้อบ้าน และ รถ หรือเพื่อเป็นทุนการศึกษา ทั้ง ๆที่อายุยังน้อยและเงินเดือนแค่ 2 หมื่นต้น ๆ เป็นสิ่งที่น่าชื่นชมมากกว่าที่รู้จักสร้างตัวตั้งแต่ยังหนุ่มสาว

แต่ละเดือนก็ต้องประหยัดสุดฤทธิ์ หรือมีงานพิเศษที่มีรายได้เพิ่ม ผิดกับสมัย 40 ปีที่ผ่านมาด้วยอายุเท่านี้ ไม่มีโอกาสที่จะหาสิ่งเหล่านี้เป็นสมบัติได้เลย ธนาคารไม่ให้กู้ และดอกเบี้ยแพง เช่น 13 %   คนรุ่นนั้น บางคนเริ่มซื้อบ้านเมื่ออายุใกล้ 60 ปี โดยเฉพาะพวกที่พักในบ้านที่ทางการจัดให้ เมื่ออายุใกล้เกษียนก็เตรียมหาบ้านเป็นของตนเอง เป็นหนี้ตอนแก่ สภาพการณ์แบบใดที่พึงประสงค์กว่ากัน ?

แต่หนี้ครัวเรือนที่เป็นหนี้นอกระบบเป็นเรื่องน่ากลัวเพราะคนที่อาศัยหนี้นอกระบบไม่มีทางลืมตาอ้าปากได้เลย การที่รัฐบาลระยะหลังพยายามให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนด้วยมาตรการต่าง ๆก็ย่อมทำให้ตัวเลขหนี้ครัวเรือนเพิ่มขึ้นเป็นธรรมดาอยู่แล้ว

 

Thank you Dr GD for giving more understanding of household debts among younger (than me ;-) generations. I can agree with borrowing to increase assets like houses, lands, investment in education and (?)business, (less agree for) stocks or shares, and (unless cost analysis is done carefully) car (is for most people is a dream --not an asset-- or at best a very rapidly depreciating asset).

I don't how we can get/estimate a readonable figure for non-institution loans.debts. Perhaps, it should be included in the next national census (when?).

I think simplistically 'more household debts -- less money to buy -- economy shrinks -- production shrinks -- employment shrinks -- (felony) crimes up -- corruption and profiteering up --- (whoa..aa I'd better hold my tongue ;-)

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท