การประท้วง การชุมนุมโดยสงบ และการเดินขบวนในระบอบประชาธิปไตย ตอนที่ 8


10. บทสรุป

 

เสรีภาพในการชุมนุม (freedom of assembly) ของประเทศไทย ได้ถูกยอมรับและรับรองตามรัฐธรรมนูญไทยมาอย่างนาน ซึ่งในต่างประเทศเองก็มีการยอมรับในเสรีภาพดังกล่าว ที่ประชาชนสามารถที่จะเข้าร่วมชุมนุมได้ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นภายใต้เสรีภาพในการชุมนุม ก็ย่อมต้องมีมาตรการอย่างใดอย่างหนึ่งของรัฐที่ออกมาจำกัดมิให้การใช้เสรีภาพดังกล่าวมากระทบสิทธิเสรีภาพในด้านอื่นๆของประชาชน  รัฐธรรมนูญของไทยได้บัญญัติไว้ในมาตรา 63 ที่กำหนดให้บุคคลย่อมมี เสรีภาพ ใน การชุมนุม โดยสงบ และ ปราศจากอาวุธ การจำกัด เสรีภาพ ตาม วรรคหนึ่ง จะกระทำ มิได้ เว้นแต่ โดยอาศัย อำนาจ ตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะในกรณี การชุมนุมสาธารณะ และ เพื่อ คุ้มครอง ความสะดวก ของ ประชาชน ที่จะใช้ ที่สาธารณะ หรือ เพื่อ รักษาความสงบเรียบร้อย ในระหว่างเวลาที่ ประเทศ อยู่ในภาวะสงคราม หรือ ในระหว่างเวลา ที่มี ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินหรือ ประกาศกฎอัยการศึก ซึ่งในต่างประเทศก็ได้มีการยอมรับในเสรีภาพดังกล่าว แม้ในหลายประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส จะส่งเสริมให้มีการชุมนุมได้โดยสงบ แต่รัฐก็มีการห้ามเสรีภาพของการประท้วงโดยสงบเพื่อมิให้มีการทำผิดซึ่งกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสรีภาพส่วนบุคคลในด้านอื่นๆ ดังนั้นเจ้าหน้าที่รัฐและรัฐเองต้องกำหนดกฎเกณฑ์ในการชุมนุมหรือประท้วงโดยสรุปไว้ให้ดี ดังที่เสนอไว้ในบันทึกในข้อ 8 และ 9 หากเจ้าหน้าที่รัฐและรัฐเองมิได้กำหนดกฎเกณฑ์ดังกล่าวไว้อย่างดี ก็อาจกลายเป็นเจ้าหน้ารัฐและตัวรัฐเองนั่นแหละที่ละเมิดเสรีภาพในการชุมนุม หรือการประท้วงโดยสงบของประชาชน

หนังสืออ้างอิง

จันทจิรา เอี่ยมมยุรา.เสรีภาพในการชุมนุมในที่สาธารณะ : หลักทั่วไปและข้อจำกัด.http://www.enlightened-jurists.com/directory/94/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

จันทจิรา เอี่ยมมยุรา.หลักทั่วไปของเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะในที่สาธารณะ. http://www.enlightened-jurists.com/page/127 เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

จันทจิรา เอี่ยมมยุรา.ข้อจำกัดเกี่ยวกับเสรีภาพในการชุมนุมสาธารณะในที่สาธารณะ http://www.enlightened-jurists.com/page/128/%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B0%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B0.html เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

ภาสพงษ์ เรณุมาศ. เสรีภาพในการชุมนุม (Freedom of Assembly) ตามรัฐธรรมนูญ.http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=1230 เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

 วิกิพีเดีย. การชุมนุมของแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ พ.ศ. 2553.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A1%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%9C%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4_%E0%B8%9E.%E0%B8%A8._2553 เข้าถึงเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

หมายเลขบันทึก: 545567เขียนเมื่อ 15 สิงหาคม 2013 15:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 15 สิงหาคม 2013 15:26 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

-สวัสดีครับ..

-มาอ่านข้อมูลเกี่ยวกับการชุมนุม....

-เก็บ"บะเกว๋น"มาฝากครับ..

ขอบคุณมากครับคุณเพชรน้ำหนึ่ง

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท