การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย


ชื่อเรื่อง  การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย

ผู้จัดทำ    นางสาวกฤษติกานต์  เซี่ยงเจ๊น  เลขที่ ๒๒

               นางสาวกุลยรัฐ อั้นจุกฉุน  เลขที่  ๒๔

               นางสาวเมธาวี  อนุศักดิ์  เลขที่ ๒๘

               นางสาวอโรชา  เจิมจรุง  เลขที่  ๒๙

ระดับชั้น       มัธยมศึกษาปีที่ ๔

ครูที่ปรึกษา  ครูอภินันท์ สีสันต์

โรงเรียน       ท่ามะกาวิทยาคม

ปีการศึกษา   ๒๕๕๕

บทคัดย่อ

              การศึกษาเรื่องการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียเป็นการค้นคว้าในรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ IS2 สาระเพิ่มเติมหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลจัดทำขึ้นจากการค้นคว้านอกห้องเรียนตามความสนใจของนักเรียนแต่ละกลุ่มโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ๑) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย         ๒) ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ๓) ศึกษาความคิดเห็นของบุคคลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย

              เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาประกอบด้วย ๑) เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย และประชาคมอาเซียน ๒) เอกสารหนังสือเกี่ยวกับภูมิภาคอาเซียนและประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ๓) แบบบันทึกข้อมูล           ๔) แบบสัมภาษณ์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย

              จากการศึกษาพบว่า๑) ข้อมูลเบื้องต้นของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย ประวัติความเป็นมา มาเลเซึยมีความหลากหลายทางสัญชาติ เชื้อชาติ ตั้งแต่อดีตกาล เพราะมาเลเซียได้รับอิทธิพลจากทั้งอินเดียและจีน ศูนย์กลางแห่งอารยธรรมเก่าแก่ทั้งสองตั้งอยู่ทางตะวันตกและตะวันออก สภาพทางภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศเป็นสภาพร้อนชื้นทำให้เป็นแหล่งผลิตยางพาราและปาล์มน้ำมันติดอันดับโลก มาเลเซียเป็นประเทศที่ส่งเสริมการปลูกยางพาราอย่างเป็นระบบมีการทำวิจัยพัฒนาคุณภาพยางพารา จนเป็นประเทศที่ผลิตยางพาราที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน มาเลเซียยังมีปาล์มน้ำมันพืชเศรษฐกิจสำคัญของประเทศอีก มาเลเซียเป็นประเทศที่อยู่ติดกับชายฝั่งทะเลซึ่งมีชายฝั่งทะเลยาวถึง ๑๙,๐๐๐ กิโลเมตร เป็นแหล่งดำน้ำที่ดีที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ระบบการศึกษา มีมาตรฐานสูง หลักสูตรมีความเป็นสากลมีมาตรฐาน และสถาบันการศึกษาส่วนใหญ่ จะใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อในการเรียนการสอน การเมืองการปกครอง มาเลเซียปกครองแบบสหพันธรัฐมีรัฐบาลกลางทำหน้าที่ดูแลเรื่องสำคัญ
เช่น การค้าต่างประเทศ  การป้องกันประเทศ โดยแนวนโยบายการพัฒนาหลักสรุปได้ดังนี้ ๑.ดำเนินนโยบายอย่างเป็นอิสระไม่ฝักใฝ่ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดโดยเฉพาะประเทศตะวันตก ๒.พยายามเข้าไปมีบทบาทนำในอาเซียน และกลุ่มประเทศกำลังพัฒนาโดยเฉพาะกลุ่มประเทศมุสลิมเพื่อเป็นพลังต่อรองกับประเทศตะวันตกในเวทีระหว่างประเทศ
๓.พัฒนาการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยโดยไม่ยึดติดกับรูปแบบของประเทศตะวันตกมีแนวดำเนินการของตนเองและให้ความสำคัญต่อเรื่องความมั่นคงภายในประเทศเป็นสำคัญ สังคมและวัฒนธรรม ชาวมาเลเซียส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งผู้นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษทางการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตร การแต่งงาน การจัดงานศพ ตามนโยบายภูมิบุตร ๒
) การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นที่ส่งผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ พบว่าข้อมูลเบื้องต้นทั้ง ๕ ประการล้วนส่งผลที่ดีต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของมาเลเซีย ๓) ความคิดเห็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของมาเลเซีย บุคคลทั่วไปร้อยละ ๙๑.๓๕ เห็นว่าการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมาเลเซียน่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดีสอดคล้องกับสมมติฐานการค้นคว้า


 

หมายเลขบันทึก: 521695เขียนเมื่อ 8 มีนาคม 2013 00:39 น. ()แก้ไขเมื่อ 8 มีนาคม 2013 00:39 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (13)

ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย

จุดแข็งรายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีอยู่ในอันดับ
3 ของอาเซียน• มีปริมาณสำรองน้ำมันมากเป็นอันดับ 3
และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก• ระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร• แรงงานมีทักษะ

จุดอ่อนจำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน
โดยเฉพาะระดับล่าง

ประเด็นที่น่าสนใจตั้งเป้าหมายเป็น “ประเทศพัฒนาแล้ว”
ในปี 2563• ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสำคัญที่คล้ายคลึงกับไทย• มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง

นางสาว วิแอมจอย แผนคง ม.4/8 เลขที่39

ประเทศมาเลเซียเป็นหนึ่งในสมาชิก10ประเทศของอาเซียน ในปีพ.ศ.2558 มีการเปิดประตูสู่อาเซียน ส่งผลให้ั่สมาชิกทั้ง10 ประเทศในอาเซียนมีการเตรียมความพร้อมในทุกๆด้านเพื่อให้ทันต่อการรองรับ ประเทศมาเลเซียจึงได้มีการเตรียมความพร้อมทางด้านภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นภาษาสากลและภาษาทมิฬ พร้อมทั้งพัฒนาพื้นฐานทางด้านต่างๆอาทิ    ระบบการศึกษา ที่มีการส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาให้กับประชาชนเพื่อให้ประชาชนเป็นกำลังสำคัญในการร่วมกันผลักดันประเทศ มีนำ้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่สำคัญและทรัพยากรธรรมชาติอื่นๆที่อุดมสมบรูณ์ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ และยังเป็นประเทศที่อยู่ติดกับชายฝั่งทะเลจึงส่งผลให้เป็นแหล่งดำน้ำที่ดีที่สุดในโลก นอกจากนี้ประเทศมาเลเซียยังได้ตั้งเป้าหมายที่จะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว จึงทำให้ทุกหน่วยงานต้องเร่งเตรียมความพร้อมในทุกๆด้านอย่างเต็มที่ เพื่อให้ประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่มีการพัฒนา และในอนาคตเมื่อมีการเปิดประตูสู่อาเซียน ประเทศมาเลเซียจะเป็นอีกประเทศหนึ่งที่น่าสนใจ และมีนักลงทุนจากต่างชาติเข้ามาร่วมลงทุน ซึ่งส่งผลให้ประเทศมาเลเซียมีเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง.

นางสาว ศศิธร เกตุเพ็ชร์ ม.4/8 เลขที่ 40

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ก่อตั้งขึ้นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ของสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ และในปี พ.ศ. 2558 จะมีการเปิดประตูสู่อาเซียน ส่งผลให้สมาชิกทั้ง10 ประเทศ มีการเครียมตวามพร้อมให้กับประเทศของตนในด้านต่างๆ ประเทศมาเลเซียจึงเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีการเตรียมตวามพร้อมทางด้านต่างๆ เพื่อให้ทันต่อการเปิดประตูสู่อาเซียน อาทิ ระบบการศึกษาที่มีการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างต็มที่ เพื่อให้ประชาชนเป็นกำลังสำคัญในการเป็นตัวที่ผลักดันและพัฒนาเศรษฐกิจให้ดียิ่งขึ้น สภาพภูมิศาสตร์มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบรูณ์ เช่น น้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่มีจำนวนมาก ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและหายาก ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ครบวงจร ซึ่งเป็นรากฐานที่เอื้ออำนวยในการที่พัฒนาเศรษฐกิจให้ดียิ่งขึ้น เป็นค้น นอกจากนั้นประเทศมาเลเซียยังตั้งเป้าหมายในการที่จะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งเป็นข้อสำคัญที่เป็นตัวกระตุ้นและผลักดันให้ทางรัฐบาลและหน่วยงานต่างๆเร่งพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านต่างๆให้ดียิ่งขึ้น และในอนาคตประเทศมาเลเซีย อาจจะเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีจะมีนักลงทุนจากต่างชาติเข้ามาร่วมลงทุนด้วย ซึ่งส่งผลให้ประเทศมาเลเซีย มีการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง.

นางสาว ธัญญารัตน์ ผลบุญ ม.4/8 เลขที่ 16

มาเลเซียเป็นประเทศที่มีหลากหลายทางเชื่อชาติและยังเป็นประเทศที่มีพื้นที่เกินกว่าร้อยละ70ยังเป็นป่าสมบรูณ์ เป็นมรดกธรรมชาติของแผ่นดินบริเวณนี้มาตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ชึ้งประกอบด้วยพืชพรรณต่างๆส่วนการศึกษามีมาตรฐานสุงภาษาส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษในการสอนการศึกษาเป็นมาตรฐานสากลทำให้การศึกษามีประสิทธิภาพ สภาพภูมิศาตร์ร้อนชื่นทำให้เป็นแหล่งผลิตยางพาราและปาร์มนำมันทีติดอันดับโลกเป็นยางพาราที่มีคุณภาพและมีมาตรฐาน...ส่วนปาร์มนำมันเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศมาเลเชียมีพื้นที่ติดกับทะเลชึ้งมีชายฝั่งยาวถึง19000กิโลเมตรเป็นที่ดำนำที่ดีที่สุดในโลกการเมืองการปกครองแบบสหพันธรัฐมีรัฐบาลกลางทำหน้าที่สำคัญเช่น การค้าในประเทศ การป้องกันประเทศสังคมและวัฒนธรรมมาเลเชียนับถือศาสนาอิสลาม ซึ้งผู้ที่นับถือศาสนาอิสลามสิทธิพิเศษในเรื่องการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตร การแต่งงาน รายได้คนงานดีมากและก๊าชะรรมชาติดีจุดอ่อนคืนประชาก่อนน้อยทำให้มีปัญหาการขาดแคลนแรงงานมาเลเชียตั้งเป้าหมายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในปี 2563 การผลิตและการส่งออกคล้ายคลึงกับไทย มีนโยบายพัฬนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีชั้นสูงอย่างจริงจัง

นางสาว ทิพปภา แย้มพวง ม.4/8 เลขที่ 28

ประเทศมาเลเซีย เป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางสัญชาติ เชื้อชาติ ตั้งแต่อดีตมาเลเซียได้รับอิทธิพลจากอินเดีย และจีน ซึ่งเป็นศูนย์รวมอารยธรรมที่เก่าแก่ สภาพทางภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศเป็นสภาพร้อนชื้นทำให้เป้นแหล่งผลิตยางพาราและปาล์ม มาเลเซียมียางพาราและปาล์มน้ำมันเป็นเศรษฐกิจสำคัญของประเทศ ระบบการศึกษา การศึกษามีมาตราฐานสูง มีความเป็นสากล และสถานศึกษาส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษในการศึกษา การเมืองการปกครอง มาเล...เซียปกครองแบบสหพันธรัฐ ซึ่งดำเนินนโยบายอย่างอิสระ มุ่งพัฒนาเรื่องการต่อรองทางการค้ากับประเทศตะวันตกในเวทีระหว่างประเทศ โดยไม่ยึดติดกับรูปแบบของประเทศตะวันตก สังคมและวัฒนธรรม ชาวมาเลเซียส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ผู้นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษทางการศึกษา สาธารณสุข การคลอดบุตร การแต่งงาน การจัดงานศพ ตามนโยบายภูมิบุตร ประเด็นที่น่าสนใจของมาเลเซีย คือ ตั้งเป้าหมายว่า ในปี 2563• ฐานการผลิตและส่งออกสินค้าสำคัญที่คล้ายคลึงกับไทยและประเทศมาเลเซียจะจัดตั้งให้ มีนโยบายพัฒนาการผลิตด้วยเทคโนโลยีขั้นสูงอย่างจริงจัง

นางสาว เซินเซิน แซ่เต๋ง ม.4/8 เลขที่ 14

          การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียน่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดี  เพราะว่า การที่ประเทศมาเลเซีย มีการปกครองแบบสหพันธรัฐ โดยมีรัฐบาลกลางทำหน้าที่ดูแลเรื่องสำคัญต่างๆ เช่น การค้าและการป้องกันประเทศ เป็นต้น และยังให้ความสำคัญอย่างมากต่อเรื่องของความมั่นคงภายในประเทศ อีกทั้งการที่ประชาชนมีความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษเพราะเป็นภาษาราชการของประเทศและยังเป็นภาษาที่มักใช้เป็นสื่อการสอน ทำให้สามารถติดต่อค้าขายกับประเทศทางยุโรปได้ ส่วนอีกภาษาหนึ่งก็คือ ภาษาจีน โดยปัจจุบันมีการใช้ภาษาจีนกันอย่างแพร่หลายรองจากภาษาอังกฤษ เนื่องจากในอดีตประเทศมาเลเซียเคยได้รับอิทธิพลมาจากอินเดียและจีน  ประเทศมาเลเซียมีสภาพทางภูมิศาสตร์แบบร้อนชื้น มีชายฝั่งทะเลยาว ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ อีกด้านหนึ่งที่ติดต่อกับต่างประเทศได้โดยการคมนาคมทางทะเล นอกจากทางบกและทางอากาศแล้ว  สำหรับหลักสูตรทางด้านการศึกษามีความเป็นสากลและมีมาตรฐานสูง  ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือศาสนา แต่ชาวมาเลเซียส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม ซึ่งคนที่นับถือศาสนาอิสลามจะได้รับสิทธิพิเศษทุกๆด้านตามที่รัฐกำหนดไว้ ประเทศมาเลเซียพยายามที่จะเข้ามามีบทบาทในอาเซียน รวมทั้งมีเป้าหมายในการที่จะผลักดันประเทศให้มีการพัฒนามากยิ่งขึ้น.

นางสาวศศิธร เกตุเพ็ชร์ ม.4/8 เลขที่ 40

สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ก่อตั้งขึ้นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ ของสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ และในปี พ.ศ. 2558 จะมีการเปิดประตูสู่อาเซียน ส่งผลให้สมาชิกทั้ง10 ประเทศ มีการเครียมตวามพร้อมให้กับประเทศของตนในด้านต่างๆ ประเทศมาเลเซียจึงเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีการเตรียมตวามพร้อมทางด้านต่างๆ เพื่อให้ทันต่อการเปิดประตูสู่อาเซียน อาทิ ระบบการศึกษาที่มีการสนับสนุนส่งเสริมการศึกษาให้กับประชาชนอย่างต็มที่ เพื่อให้ประชาชนเป็นกำลังสำคัญในการเป็นตัวที่ผลักดันและพัฒนาเศรษฐกิจให้ดียิ่งขึ้น สภาพภูมิศาสตร์มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบรูณ์ เช่น น้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่มีจำนวนมาก ซึ่งเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญและหายาก ระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ครบวงจร ซึ่งเป็นรากฐานที่เอื้ออำนวยในการที่พัฒนาเศรษฐกิจให้ดียิ่งขึ้น เป็นค้น นอกจากนั้นประเทศมาเลเซียยังตั้งเป้าหมายในการที่จะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งเป็นข้อสำคัญที่เป็นตัวกระตุ้นและผลักดันให้ทางรัฐบาลและหน่วยงานต่างๆเร่งพัฒนาประสิทธิภาพทางด้านต่างๆให้ดียิ่งขึ้น และในอนาคตประเทศมาเลเซีย อาจจะเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีจะมีนักลงทุนจากต่างชาติเข้ามาร่วมลงทุนด้วย ซึ่งส่งผลให้ประเทศมาเลเซีย มีการพัฒนาเศรษฐกิจได้อย่างต่อเนื่อง.

นางสาวนฤมล พรมณีวรรณทวี ม.4/8 เลขที่ 3

ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียอยู่ทางแถบภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ หรือกลุ่มประเทศในอาเซียน ประเทศสหพันธรัฐมาเลเซีย มีความหลากหลายของคนต่างสัญชาติ ซึ่งประเทศสหพันธรัฐมาเลเซียได้รับอิทธิพลต่างๆ มาจากประเทศอินเดีย และประเทศจีน เราจึงต้องมีการเตรียมความพร้อมในทุกๆด้าน ระบบการบริหารการศึกษาของประเทศมาเลเซียอยุ่ในความรับผิดชอบของรัฐบาลกลาง แบ่งระดับการบริหารเป็น 5 ระดับ รัฐบาลกลางกำหนดให้ใช้ภาษาประจำชาติคือ ภาษามลายู ที่เขียนด้วยอักษร รูมี เป็นภาษาหลักในการใช้ประกอบในการเรียนการสอน

                                                                                                                  ด้วยความเคารพอย่างสูง

                                                                                                              นางสาว นฤมล พรมณีวรรณทวี

นางสาวอัญชลีพร เซี่ยงฉิน เลขที่ 22 ม.4/8

การพัฒนาเศรฐกิจของประเทศมาเลเซียน่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดีเนื่องจากมีการส่งออกยางพาราและน้ำมันปาล์มมาก มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษจึงทำให้เด็กนักเรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับชาวต่างชาติได้และทำให้ประเทศมาเลเซียก้าวทันการรวมตัวของอาเซียน ซึ่งจะมีขึ้นในปี พ.ศ. 2558 ที่จะถึงนี้ การปกครองมีการปกครองแบบสหพันธรัฐที่เน้นการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น เช่น มีการพัฒนารูปแบบการปกครองที่เป็นประชาธิปไตยมากขึ้นพร้อมทั้งให้ความสำคัญในเรื่องความมั่นคงภายในประเทศ ประเทศมาเลเซียมีรายได้เฉลี่ยของบุคคลภายในประเทศต่อคนอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซีย มีปริมานน้ำมันสำรองมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก มีระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร มีแรงงานที่มีทักษะความสามารถในการทำงานสูง แต่จำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานที่อยู่ในระดับล่าง ประเทศมาเลเซียมีการตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในปี พ.ศ. 2563 และจะมีการพัฒนาการผลิตค้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งจะดึงดูดให้ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศมาเลเซียเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลให้ประเทศมาเลเซียมีการขยายตัวทางเศรฐกิจเพิ่มมากยิ่งขึ้น

นางสาว อัญชลีพร เซี่ยงฉิน เลขที่ 22 ม.4/8

การพัฒนาเศรฐกิจของประเทศมาเลเซียน่าจะเป็นไปในทิศทางที่ดีเนื่องจากมีการส่งออกยางพาราและน้ำมันปาล์มมาก มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษจึงทำให้เด็กนักเรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับชาวต่างชาติได้และทำให้ประเทศมาเลเซียก้าวทันการรวมตัวของอาเซียน ซึ่งจะมีขึ้นในปี พ.ศ. 2558 ที่จะถึงนี้ การปกครองมีการปกครองแบบสหพันธรัฐที่เน้นการพัฒนาประเทศให้มีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น เช่น มีการพัฒนารูปแบบการปกครองที่เป็นประชาธิปไตยมากขึ้นพร้อมทั้งให้ความสำคัญในเรื่องความมั่นคงภายในประเทศ ประเทศมาเลเซียมีรายได้เฉลี่ยของบุคคลภายในประเทศต่อคนอยู่ในอันดับ 3 ของอาเซีย มีปริมานน้ำมันสำรองมากเป็นอันดับ 3 และก๊าซธรรมชาติมากเป็นอันดับ 2 ของเอเชียแปซิฟิก มีระบบโครงสร้างพื้นฐานครบวงจร มีแรงงานที่มีทักษะความสามารถในการทำงานสูง แต่จำนวนประชากรค่อนข้างน้อย ทำให้ขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะแรงงานที่อยู่ในระดับล่าง ประเทศมาเลเซียมีการตั้งเป้าหมายไว้ว่าจะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้วในปี พ.ศ. 2563 และจะมีการพัฒนาการผลิตค้วยเทคโนโลยีขั้นสูง ซึ่งจะดึงดูดให้ชาวต่างชาติเข้ามาลงทุนในประเทศมาเลเซียเพิ่มมากขึ้น จึงส่งผลให้ประเทศมาเลเซียมีการขยายตัวทางเศรฐกิจเพิ่มมากยิ่งขึ้น

นางสาวเข็มอัปสร ศิริสุขะ

จากการวิเคราห์ของประเทศมาเลเซียพบว่าประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่จะกำลังพัฒนาแล้วและข้อมูลเบื้องต้นที่ทราบว่าประเทศมาเลเซียมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและสัญชาติ มานานแล้ว ประเทศมาเลเซียนะมีความน่าสนใจอีกหลายๆอย่างไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมต่างๆของมาเลเซีย ส่วนการศึกษาของประเทศมาเลเซียมีมาตราฐานสูงและมีหลังสูตรเป็นสากลพื้นฐานการเรียนการสอนของมาเลเซียเค้าจะพูดภาษาอังกฤษสอนเด็กนักเรียน ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ดีเพราะใน ปี 2558 จะเริ่มเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้วเด็กทุกคนจะต้องพูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักด้วยและการเมืองการปกครองเป็นสหพันธรัฐมีรัฐบาลกาลทำหน้าที่ดูแลและจะมีการพัฒนาการปกครองแบบประชาธิปไตยอีกด้วย และส่วนสภาพทางภูมิศาสตร์เป็นแบบร้อนชื้นทำให้เหมาะแกการปลูกยางพาราที่มีคุณภาพและได้มาตราฐานที่ดี ส่วนอีกอย่างที่เป็ที่น่าสนใจของประเทศมาเลเซียก็คือจะตั้งเป้าหมายที่จะเป็ประเทศที่พัฒนาแล้วและมีนโยบายการผลิตเทคโนโลยีชั้นสูง ส่วนอีกอย่างที่เป็นจุดด่อยงของประเทศมาเลเซียก็คือประชากรค่อนข้างน้องและขาดแคลนแรงงาน จาการวิเคราะห์ของประเทศมาเลเซียก็รวมๆแล้วก็ถือว่าดีเกือบหมดทั้งด้านการเมืองการปกครอง การศึกษาและวัฒนธรรมก็ดีหมด

นางสาวเข็มอัปสร ศิริสุขะ เลขที่ 13 ชั้น ม.4/8

จากการวิเคราห์ของประเทศมาเลเซียพบว่าประเทศมาเลเซียเป็นประเทศที่จะกำลังพัฒนาแล้วและข้อมูลเบื้องต้นที่ทราบว่าประเทศมาเลเซียมีความหลากหลายทางเชื้อชาติและสัญชาติ มานานแล้ว ประเทศมาเลเซียนะมีความน่าสนใจอีกหลายๆอย่างไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมต่างๆของมาเลเซีย ส่วนการศึกษาของประเทศมาเลเซียมีมาตราฐานสูงและมีหลังสูตรเป็นสากลพื้นฐานการเรียนการสอนของมาเลเซียเค้าจะพูดภาษาอังกฤษสอนเด็กนักเรียน ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่ดีเพราะใน ปี 2558 จะเริ่มเข้าสู่ประชาคมอาเซียนแล้วเด็กทุกคนจะต้องพูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักด้วยและการเมืองการปกครองเป็นสหพันธรัฐมีรัฐบาลกาลทำหน้าที่ดูแลและจะมีการพัฒนาการปกครองแบบประชาธิปไตยอีกด้วย และส่วนสภาพทางภูมิศาสตร์เป็นแบบร้อนชื้นทำให้เหมาะแกการปลูกยางพาราที่มีคุณภาพและได้มาตราฐานที่ดี ส่วนอีกอย่างที่เป็ที่น่าสนใจของประเทศมาเลเซียก็คือจะตั้งเป้าหมายที่จะเป็ประเทศที่พัฒนาแล้วและมีนโยบายการผลิตเทคโนโลยีชั้นสูง ส่วนอีกอย่างที่เป็นจุดด่อยงของประเทศมาเลเซียก็คือประชากรค่อนข้างน้องและขาดแคลนแรงงาน จาการวิเคราะห์ของประเทศมาเลเซียก็รวมๆแล้วก็ถือว่าดีเกือบหมดทั้งด้านการเมืองการปกครอง การศึกษาและวัฒนธรรมก็ดีหมด

นายธนิสร ส่งทิมไทย เลขที่ 46 ม.4/8

จากการอ่านบทความพบว่าประเทศมาเลเซียมีความหลากหลายทางเชื้อชาติจึงเป็นแหล่งรวมอารยธรรมเก่าแก่มีที่ตั้งอยู่ทางตะวันออกและทางตะวันตกของประเทศ ในประเทศมาเลเซียนิยมปลูกต้นยางพารากันเป็นส่วนใหญ่จนขนาดว่ามีการวิจัยเกี่ยวกับคุณภาพยางพารามาเลเซียจึงเป็นประเทศที่มีการส่งออกยางพาราที่ได้มาตรฐานเป็นลำดับต้นๆของโลก การปกครองในประเทศก็ปกครองแบบสหพันธรัฐโดยมีรัฐบาลกลางคอยดูแลเรื่องสำคัญๆต่างๆ ยังมีเรื่องการศึกษาที่ได้มาตรฐานสากลการศึกษาส่วนใหญ่ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร ศาสนาส่วนใหญ่จะนับถืออิสลามใครที่เป็นชาวมุสลิมจะได้รับสิทธิพิเศษในหลายๆเรื่อง การที่จะเปิดประตูอาเซียนข้าพเจ้าคิดว่าประเทศมาเลเซียจะเป็นประเทศสำคัญที่จะช่วยผลักดันเศรษฐกิจให้กับอาเซียนได้อย่างมากอีกประเทศหนึ่ง

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท