มหาธี
อาจารย์ ธีรวัส บำเพ็ญบุญบารมี

พระอรหันต์เป็นใคร


 

โครงการธรรมศึกษาวิจัย

ความเป็นพระอรหันต์

: ศึกษาจากคัมภีร์พระไตรปิฎก

อรรถกถา ฎีกาตลอดจนคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา

ธีรวัส  บำเพ็ญบุญบารมี

ผู้อำนวยการโครงการอนุรักษ์คัมภีร์

มหาบัณฑิตสาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ธรรมศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าเพื่อเป็นหลักฐานทางวิชาการทางพระพุทธศาสนา

ตามหลักสูตรวิจัยคัมภีร์พระพุทธศาสนา มูลนิธิเบญจนิกาย พุทธศักราช  ๒๕๕๐พิมพ์ครั้งที่ ๑  ๕๐๐ เล่ม

เพื่อเป็นธรรมทานไม่สงวนลิขสิทธิ์

ความเป็นพระอรหันต์

  ความเป็นพระอรหันต์ถึงที่สุด หน้าที่เหลืออยู่คือ การหยุดความตาย ความรู้สึกทางกิเลสไม่เกิดขึ้นอีก และเพราะว่าการถอนราคะ และไม่มีการเกิดใหม่ และเป็นธรรมชาติอย่างยิ่ง ไม่มีอะไรที่จะทำให้เกิดความเพลิดเพลินทางความรู้สึก และดังนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่า ความรู้สึกของเขาไม่กลายเป็น สีติภวิสสติ

  “เมื่อร่างกายถึงความแตกต่างทำลายความรู้สึกทั้งหมดเข้าสู่ความเย็นรวมทั้งมีความสงบความรู้สึกทางกิเลสเข้าถึงความสูญไปนี้เป็นความรู้ในนิพพานธาตุโดยปราศจากสิ่งที่เหลือค้างใดๆ (อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ)

จากจุดที่เข้าถึงความเป็นพระอรหัตเป็นสิ่งหนึ่งที่จะทำให้บรรลุเมื่อบุคคลเข้าถึงการถอนรากโดยสิ้นเชิงจากกิเลส๓ตัวที่ทำให้กลายเป็นราคะโทสะโมหะเขาก็จะถูกปลดปล่อยจากโซ่ตรวนของสังสาระจากความซ้ำซากของยางเหนียวเขาจะมีความรู้สึกที่เป็นอิสระจากโลกความเกี่ยวข้องที่จะทำให้เขากลับมาเกิดอีกไม่มีเพราะว่าเขามีความเข้าใจในนิพพานความหยุดชั่วคราวทั้งหมดของความต่อเนื่องและความมีความเป็น  (ภวนิโรธ) เขาอยู่เหนือภาวะธรรมดาและการเคลื่อนไหวเกี่ยวกับโลกและมีสถานภาพอยู่เหนือโลกด้วยตนเองในขณะที่ยังคงมีชีวิตอยู่ในโลกผลวิบากกรรมของเขาจะยังคงมีผลแม้ว่าเขาจะถูกกระตุ้นด้วยกิเลสสามตัวจากกิเลสที่เกิดขึ้นในใจ  เขามีภูมิคุ้มกันจากความชั่วทั้งมวลที่จะทำให้จิตใจเสื่อมในตัวเขาจะไม่มีภาวะแอบแฝงหรือความมีอคติ (อนุสัย) เขาได้พ้นจากความดีและความชั่วเขาอยู่เหนือภาวะทั้งสองคือความดีและความเลวเขาไม่กังวลกับเรื่องอดีต, อนาคตหรือแม้แต่ปัจจุบันไม่มีอะไรที่เขาจะยึดมั่นถือมั่นในโลกและไม่เกิดความยุ่งยากเขากังวลกับความเปลี่ยนแปลงของชีวิต, ใจของเขาจะไม่หวั่นไหวกับการกระทบกับเรื่องที่เกิดขึ้นทางโลกเช่นความเศร้า, มลทินและความเข้มแข็ง (อโสกังวิระชังเขมัง)

  ดังนั้นนิพพานจึงเป็นขั้นสุดยอดแห่งการรู้แจ้งในชีวิตนี้อย่างแท้จริง (ทิฏฐธัมมนิพพาน)

  สำหรับนักคิดถามใจตัวเองจะไม่แสวงหาสิ่งที่ยากที่จะเข้าใจในภาวะนี้ซึ่งสามารถที่จะยืนยันความมีอยู่แห่งพระอรหัตและไม่มีภาวะอื่นๆไม่โลกนี้ก็อาณาจักรแห่งความสุขที่ล้ำลึกอื่นใด

  หากว่าจะรู้สึกถึงความมีอยู่ด้วยการประสบกับสิ่งที่ไม่พอใจจากภาวะตามธรรมชาติและรู้ว่าลำดับแรกที่จะช่วยในเรื่องของความทุกข์อันเป็นสิ่งทำให้เสื่อมจะทำให้เกิดความกระหาย, เขาไม่รู้ว่าความเสื่อมจะทำลายล้างอะไร, เพราะว่าเขาไม่เคยประสพเขาจะเป็นอย่างนั้นเขาจะรู้ว่าความรู้แจ้งด้วยตนเองและอะไรเป็นภาวะที่ปราศจากความเสื่อม, อะไรเป็นนิพพานหรือความรู้แจ้งซึ่งเป็นความรู้สึกที่แท้จริง, ความเป็นพระอรหัตเป็นไวพจน์ของนิพพานและไม่เกี่ยวกับการบอกเล่า, แต่พระอรหัตไม่สามารถไม่จะกล่าวได้ว่ามีลักษณะแห่งการรู้แจ้งอย่างไร, ซึ่งทำให้เข้าใจภาวะนิพพานในลักษณะอื่น, ใครผู้ซึ่งปล่อยวางกระหายที่จะรู้ถึงการปลดปล่อยที่เขาได้รับแต่จะไม่อธิบายภาวะที่ปลดปล่อยต่อใครๆ

  อย่างไรก็ตามมีคนจำนวนมากกล่าวถึงเรื่องนี้ซึ่งไม่มีประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องนี้สำหรับประสพการณ์ด้วยตนเอง, การรู้แจ้งด้วยตนเองการรู้แจ้งเป็นสิ่งที่บุคคลจะรู้แจ้งได้จำเพาะตนแต่ละคนต้องปฏิบัติด้วยตนเองและปรับปรุงตัวเองให้เคร่งครัดเหล่านี้นอกจากความต้องการประจำวันไม่ต้องกังวลว่ามากเท่าไรกับการพัฒนาในภายใน, เขาสามารถปลดปล่อยด้วยใจของตน

  อะไรเป็นความแตกต่างที่จะรู้ซึ้งถึงภาวะนิพพานโดยปราศจากพื้นฐาน  เบญจขันธ์เหลือค้าง (อนุปาทิเสสนิพพาน) ในโลกอื่น, การปรินิพพานหรือขั้นสุดท้ายถึงความเป็นพระอรหัต

  มีคำกล่าวจากท่านอทุธนะที่ว่า

  ดูก่อนภิกขุมีความไม่เกิดไม่ริเริ่มไม่กระทำไม่มีเงื่อนไขหรือว่าไม่เกิดไม่ริเริ่มไม่กระทำ  และไม่มีเงื่อนไขหลบหนีไม่ได้จากการเกิดสิ่งที่ก่อให้เกิดกรรมและสภาวะเนื่องจากมีความเกิดไม่มีปัจจัย, ไม่มีการกระทำ, และไม่มีสภาวะดังนั้นจึงออกจากการเกิดปัจจัยทำให้เกิด, กรรมและสภาวะ

  ที่นี่ไม่มีทั้งธาตุและวัตถุธาตุน้ำ ( การประสาน ) ความร้อน, การเคลื่อนไหวไม่ใช่สังสาระจักรของอวกาศที่ไม่มีขอบเขตไม่ใช่ทั้งความรู้สึกที่ไม่มีขอบเขตของอวกาศไม่ใช่ทั้งระบบจักรวาลไม่มีอะไรไม่ใช่จักรวาลแห่งความพึงพอใจหรือไม่ใช่ทั้งความพึงพอใจและยินดีไม่ใช่ทั้งโลกนี้และโลกอื่นไม่ใช่พระอาทิตย์และพระจันทร์ขณะนี้ไม่มีการมาไม่มีการไปไม่มีการดำรงอยู่ทั้งไม่มีการตายไม่มีการเกิดปราศจากปัจจัยเกื้อหนุนไม่มีการดำรงอยู่ปราศจากเป้าหมายแห่งการรับรู้โดยแท้จริงนี้ก็คือการสิ้นสุดแห่งการทุกข์ (ทุกข์)

  มันเป็นความสะอาดจากภาวะที่เป็นความพ้นเรียกว่าการปรินิพพานเป็นขั้นตอนซึ่งมีการรวมตัว๕ประการจากความรู้สึกความเข้าใจการสร้างจิตและอายตนะและส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งหมดที่จะยุติการรวมตัวดังนั้นจึงเป็นขั้นที่ไม่มีสถานที่มันคือสิ่งที่อยู่ไกลมากและอยู่ภายนอกจากทุกสิ่งทุกอย่างที่เป็นความเกี่ยวข้อง

  มันไม่ใช่ทั้งผลและสาเหตุไม่ใช่สาเหตุแห่งการเกิดและผลมันไม่ใช่หนทาง (มรรค) หรือผลมันเป็นสภาพสมบูรณ์ไม่มีภาวะไม่มีการปรุงแต่ง

  ความทุกข์และการเกิดขึ้นซึ่งเป็นความกระหายในทางโลก (โลกียะ) แต่พระนิพพานไม่ใช่สิ่งที่ดำรงอยู่ในโลก, อยู่ภายนอกสิ่งที่เป็นภาวะและดังนั้นสาเหตุที่อยู่ไกลออกไปและผลลัพธ์ทั้งหมดทั้งสิ้น  ทุกสิ่งทุกอย่างทางโลกีย์เป็นสิ่งที่เกี่ยวพันกัน, แต่พระนิพพานเป็นภาวะดำรงอยู่ซึ่งไม่เกี่ยวพันกันอย่างแท้จริง

  ในคำสอนที่สำคัญ (ภวยอนุปสูตร) ในจุดไหนที่มีการเกิดขึ้นและพึ่งพาอริยสัจ๔เป็นสิ่งที่ยกขึ้นมากล่าวพระพุทธเจ้ามักจะกล่าวสอนพระภิกษุว่า

  การพิจารณาอย่างถ่องแท้ในความจริงใดๆในโลก (อิทังสัจจันติอุปนิจจติ)  ให้ตรวจสอบว่าความจริงอันประเสริฐทำให้เข้าใจในการบรรลุขณะที่จิตใจต้องการความเป็นจริงอันประเสริฐ

มีคำกล่าวว่า

  “นิพพานไม่ใช่สิ่งที่หลอกลวง

  สำหรับการที่จะรู้ความจริงอันประเสริฐ

  แต่โดยเหตุนี้เขาย่อมรู้ความจริง

  ความปรารถนาที่บุคคลปรารถนาแล้วต้องการให้เข้าถึง”

นี้ไม่เพียงแต่เป็นตัวอย่างเท่านั้นซึ่งพระพุทธเจ้าใช้ความจริงเป็นตัวแทนของนิพพานเราจะพบได้ในคำกล่าวต่อไปนี้

  “ภิกษุความจริงอันประเสริฐเป็นชื่อของนิพพาน

  ในความเป็นจริงเขาได้ถูกปลดปล่อยให้เป็นอิสระ

  นี่เป็นวิธีการทำลายและดับตัณหา”

เช่นเดียวกับความหมายที่เสมอกัน (จตุวิภังคสูตร) ความเป็นพระอรหันต์เป็นความสงบอย่างสมบูรณ์ในภายใน (ไฟ๓กอง) คือราคะโทสะโมหะดับอย่างสิ้นเชิงอยู่ภายใน (ปัจจัตตังเยวปรินิพพายิ)

  เมื่อประสพความทุกข์ความไม่สบาย  หรือความรู้สึกทางธรรมชาติ, เพื่อที่จะรู้ว่าธรรมชาติเป็นสิ่งไม่เที่ยงและรู้ว่าเป็นสิ่งที่ไม่คงทนเพื่อที่จะไม่ยึดติดกับความคิดในใจของตนเองว่ามันไม่มีความเพลิดเพลินกับสิ่งที่เป็นกิเลส

  ประสบการณ์อะไรก็ตามที่เกิดกับบุคคลเป็นเหตุให้พอใจหรือเป็นกลางๆประสบการณ์ของเขาปราศจากการผูกมัดที่คงอยู่ปราศจากการเกี่ยวพันกับการดำรงอยู่ (วิสังยุตโต) เขาก็จะรู้ว่าการสลายไปแห่งสังขารร่างกายหลังจากวาระสุดท้ายของชีวิตความรู้สึกทั้งมวลประสบการณ์ทั้งมวลจะกลายเป็นความเย็น  กลายเป็นความสงบ (สิทธิภวิสสันติ)  ในขณะที่น้ำมันในตะเกียงเผาไหม้โดยอาศัยน้ำมันและไส้ตะเกียงและเผาไหม้จนหมด  ทั้งไส้และน้ำมันเป็นเชื้อเพลิงที่จะหมดลง

  แม้ว่าเมื่อพระภิกษุรู้สึกถึงประสบการณ์เกี่ยวกับจุดจบของสังขารเขาจะรู้ว่า “ประสบการณ์กับรู้สึกที่สังขารกำลังบ่ายหน้าไปสู่จุดจบและเมื่อได้ประสบกับความรู้สึกที่ชีวิตใกล้จะสิ้นสุด  เขาจะรู้ว่า “เราประสบกับความตายในไม่ช้า” และเขาจะรู้ว่า “ร่างกายจะแตกดับและเดินทางไปสู่วาระสุดท้ายของชีวิต” ความรู้สึกทั้งมวล, ความสุขจะไม่ดำรงอยู่อย่างมั่นคงในขณะนี้จะกลายเป็นความเย็นเมื่อพระภิกษุได้สละความรู้สึกยึดมั่นก็จะได้บรรลุความสุดยอดทางปัญญาเพราะว่าความรู้ในการทำลายความทุกข์ทั้งมวล (ทุกขะ) เป็นความสุดยอดทางปัญญาอันประเสริฐ

  ในความเป็นจริงเขาได้ปล่อยวางและสละความคิดฟุ้งซ่านเรื่องต่างๆที่ไม่เป็นความจริงและพบว่านิพพานเป็นความจริง  (ตัง  สัคคัง) ดังนั้นพระภิกษุผู้สละก็จะปล่อยวางกับเป็นจริงขั้นสูงเพราะว่าความรู้อันประเสริฐสูงสุด (ปรมังอริยังสัคคัง) เป็นนิพพานซึ่งเป็นความจริง (ไม่ใช่ไม่จริง) ในรตนสูตรมีคำกล่าวว่า

  “อดีตของเขาได้ตายไปแล้วกรรมใหม่ไม่เกิดขึ้น

  ใจที่ส่งไปแล้วในอนาคตกลายเป็นสิ่งที่ไม่ผูกมัด

  เชื้อได้ตายไปแล้วเขาไม่มีความปรารถนาที่จะเกิดอีก

  สภาวะเหล่านั้น(และความแน่วแน่) จึงเป็นการเข้าสู่ความสว่าง”

  นี้เป็นจุดมุ่งหมายของพระอรหัตซึ่งเป็นความสิ้นสุด (ปรินิพพุโต) หนทางของบุคคลเหมือนกับนกที่บินอยู่บนท้องฟ้า  ไม่สามารถที่จะหาร่องรอยได้เพราะฉะนั้นจึงเป็นความผิดที่จะกล่าวว่าพระอรหันต์หรือพระพุทธเจ้าเข้าสู่พระนิพพานเข้าสู่พระนิพพานได้อย่างไร  เนื่องจากว่าไม่มีสถานที่หรือสภาพหรือสวรรค์ซึ่งเป็นสถานที่ที่ดำรงอยู่  พระนิพพานไม่มีตำแหน่งที่อยู่  ดังนั้นความสิ้นสุดครั้งสุดท้ายของพระพุทธเจ้าหรือพระอรหันต์ที่จะแสดงเป็นคำพูดในตำราเรียกว่าปรินิพพุโตปรินิพพายีเป็นความสิ้นสุดอย่างสิ้นเชิง  ดับอย่างสิ้นเชิงซึ่งเป็นจุดหมายที่ชัดเจนโดยเป็นการหยุดชั่วขณะของการดับภพ (ภวนิโรธ) สังสารวัฏจะหยุดลง  ขณะนี้  อะไรเกิดขึ้นที่พระพุทธเจ้าหรือพระอรหัตหลังจากที่ชีวิตสิ้นสุดลงเราไม่สามารถที่จะอธิบายได้ไม่มีปริมาตรไม่มีขนาด .นี้เป็นคำถามที่ไม่มีที่สิ้นสุด (อวยกตา)

  สิ่งสิ้นสุดของความจริงความจริงที่ไม่สามารถจะอธิบายได้และอธิบายไม่ได้ (อนัตตา) 

มีคำถามเรื่อง “อุปาสิวา” เป็นคำถามหรือไม่ซึ่งเป็นการสิ้นสุดการมีอยู่ของชีวิตหรือความสุขชั่วนิรันดร์คำตอบของพระพุทธเจ้ามีลักษณะที่แน่ชัดว่า

  “บรรดาผู้ถึงที่สุดไม่มีลักษณะที่บอกขนาด

  ไม่มีอะไรในตัวเขาเพราะไม่มีอะไรจะกล่าว

  ไม่มีอะไรในทุกสิ่งที่เคลื่อนไหว

  ไม่มีอะไรที่กล่าวได้ว่าเป็นความเคลื่อนไหว”

  การไม่ปรากฏของอัตตา  (อาตมัน) วิญญาณหรือตนเองทำให้บรรลุนิพพานหรือทำให้แจ้งนิพพานเป็นตัวสกัดกั้นการวิพากวิจารณ์ในขั้นแรกให้พยายามทำความเข้าใจซึ่งเป็นสิ่งที่ถูกเรียกถึงความมีอยู่การดำรงอยู่ย่อมไหลไปในตัวเองและสาระ  มันเป็นกระบวนการเราได้ทำใจในความเปลี่ยนแปลงที่ไม่เหลืออยู่คล้ายกับผลที่จะตามมาโดยลำดับและในเรื่องนี้ไม่มีอะไรที่ยั่งยืนการดับอย่างสมบูรณ์ของหลักการนี้เป็นกระบวนการที่ไหลไปของวัตถุและทางจิตใจ  ลำดับขั้นที่จะรู้ว่าปรินิพพาน  เราอย่าได้คิดว่ามีตัวเราหรือวิญญาณที่จะเข้าสู่นิพพานนิพพานเป็นอมตะหรือทำลายกิเลสในภาวะของนิพพาน

  คำถามซึ่งจะทำให้บรรลุผลหรือสิ่งที่ทำให้รู้แจ้งนิพพานเกิดขึ้นเพราะว่าความเชื่อที่มั่นคงของตนเองตัวกูของกู (อหังการ, มมังการ) ในบุคคลและคำถามทุกอย่างอยู่รอบๆตัวเรา  แต่ไม่มีเราหรือตนเองเบื้องหลังการกระทำของเรา, จิตวิญญาณประกอบด้วยวัตถุทางกายภาพไม่มีผู้กระทำในผู้กระทำไม่มีนักคิดที่จะคิดว่านิพพานคืออะไร  แต่ไม่มีบุคคลใดที่ไม่มีชีวิตอยู่ซึ่งจะรู้แจ้ง. ปรากฏการณ์ได้ไหลไปเรื่อยๆภายในตัวมันเองในภาษาทางการเราได้กล่าวถึงบุคคลผู้หญิงตัวเราตนเอง  ดังนั้นสภาวะมีแต่ไหลไปข้างหน้าแต่ในความรู้สึกที่สูงสุดไม่มากไปกว่าการเป็นอยู่ของปัจเจกชนหลักการที่จะเข้าไปสู่หลักการที่จะทำให้ดับเท่านั้นเป็นสิ่งที่เป็นธรรมชาติแห่งการรู้แจ้ง, ธรรมชาตินั้นทั้งหมดเป็นความดับ

  ขันธ์๕ในความปรารถนาที่จะมีอยู่ความทะยานอยากทำให้เกิดขึ้น (เหตุ) ของความทุกข์ที่เกิดขึ้นในขันธ์๕ของความทะยานอยากการดับความอยากจะต้องเป็นกระบวนการในแนวเดียวกันดังนั้นกระบวนการนี้ทำให้เกิดการดำรงอยู่และหลักการการดับและไม่มีความยั่งยืนตัวเราหรือของเราซึ่งทำให้เกิดการรวมตัวและขั้นสุดท้ายจากการขุดรากถอนโคนสิ่งเหล่านั้น, ตัวแทนภายนอกไม่มากก็น้อย  ขณะนี้มีสิ่งที่เป็นไปและการเปลี่ยนแปลงนี้คือความเห็นที่ถูกต้อง

  นิพพานของพุทธศาสนาถูกเรียกว่าเป็นความสูงสุด (ปรมังสุขัง) และพวกเราจะเห็นสิ่งที่อยู่เหนือกว่า,ความสุขนี้เป็นสิ่งที่นำมาเกี่ยวกับความสมบูรณ์ความสงบความดับอย่างสมบูรณ์ของอายตนะทั้งหมดในปัจจุบันนี้การกล่าวนี้โดยแท้จริงการป้องกันอย่างสมบูรณ์,  พวกเราซึ่งมีประสพการณ์แห่งความรู้สึกเพลิดเพลินยินดีกับความสามารถในการรับรู้ได้ของพวกเรา

  ท่านอุทายี พระสาวกของพระพุทธเจ้าได้เผชิญกับปัญหาเป็นอย่างมาก. ท่านสารีบุตรได้สนทนากับพระภิกษุ นั่นคือพระนิพพาน ท่านทั้งหลายนี่เป็นความสุข นี้คือนิพพาน ท่านทั้งหลายนี้คือความสุข  ดังนั้นท่านอุทายีได้ตอบว่า  ปราศจากกิเลสแล้วเป็นความสุข  ในเรื่องนิพพานไม่มีภาวะแห่งการกล่าวว่าเป็นความรู้สึก

  คำพูดของพระสารีบุตรนี้เป็นสิ่งที่สามารถยืนยันอย่างเต็มที่โดยการยอมรับของพระพุทธเจ้าประสบการณ์อะไรก็ตามญาณ, อายตนะและความทุกข์ทั้งมวล (ยังกิญจิเวทะยิตังตังทุกขัสส์มิง)

  ขั้นตอนที่จำเป็นที่สุดของทางที่จะขตัดความทุกข์ที่จะเข้าสู่พระนิพพานทิศทางที่พระพุทธเจ้าทรงชี้เป็นทางที่เราจะต้องระมัดระวังในการอบรมสั่งสอนตัวเองเพื่อทำให้เกิดความบริสุทธ์และความสบายอย่างที่สุดจากความยุ่งยากของชีวิตความลึกซึ้งแห่งธรรมเป็นสิ่งที่เข้าใจได้ยากนอกจากว่าพวกเราจะเข้าถึงด้วยการมีสติอย่างมั่นคง, และความมีสัมปชัญญะอย่างสมบูรณ์การเดินการปฏิบัติในชีวิตประจำวันเป็นวิถีทางปฏิบัติของเรา  เราจะบรรลุถึงจุดหมายปลายทางในวันหนึ่ง

  ผู้ศึกษาปฏิบัติจะเรียนรู้จากการเดินยืนนั่งนอนค่อยๆเกิดขึ้นและปฏิบัติด้วยความพากเพียร

  ดังนั้นความยิ่งใหญ่อย่างหนึ่งที่จะเกิดขึ้นได้แก่มลทิน๓อย่าง  การเคลื่อนไหวอิริยาบถในทุกระยะเพื่อเน้นย้ำให้เข้าถึงความสำเร็จในที่สุด

  โยคีผู้ใสใจในสิ่งที่ผ่านไปแล้วและจดจำเส้นทางของชีวิตถึงแม้ว่าวันนี้นอกจากบรรลุถึงจุดสูงสุดการบรรลุถึงความบริสุทธิ์อย่างหนึ่ง  แม้กระนั้น  ก็เป็นสันติตลอดกาล

  ส่วน๓  ส่วนของมรรค    อันประเสริฐ

  ปัจฉิมโอวาทในที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้าได้ประทานโอวาทกับพุทธสาวกพระองค์ตรัสว่าคำสอนธรรมและวินัยจะเป็นศาสดาแทนเราแก่ท่านทั้งหลายหลังจากที่เราจากไป

ชีวิตในหนทางที่พระพุทธเจ้าได้แสดงแล้วได้เป็นสิ่งที่ชัดแจ้งสารธรรมของพระองค์ประกอบด้วยพระธรรมและพระวินัย  วินัยเป็นระบบศีลธรรมที่บริสุทธิ์และยอดเยี่ยม  เป็นการทำให้กายกรรมและวจีกรรมมีความงดงาม

บัญญัติความประพฤติของพระพุทธศาสนา  ได้แก่ศีลเป็นพื้นฐาน  ศีลธรรมหรือสิ่งที่เกี่ยวกับศีลธรรมเป็นการฝึกฝน  คำสอนเป็นนโยบายทางด้านจิตใจเป็นรากฐานในการพัฒนาทางจิตใจเรียกว่าสมาธิและความรู้แจ้างเรียกว่าปัญญา๓อย่างที่เป็นความเคร่งครัดที่เกี่ยวกับศีลธรรมและปัญญาเป็นพื้นฐานของคำสอนซึงมีความปราณีตและสมบูรณ์เพื่อปลูกฝังและยกบุคคลขึ้นจากที่ต่ำสู่ที่สูงของชีวิตที่มีศีลธรรมเหล่านี้จะพาให้ผู้ที่อยู่ในความมืดไปสู่ความสว่างจากกิเลสไปสู่ความไร้ทุกข์  จากความยุ่งยากไปสู่ความเยือกเย็น

สิ่ง    อย่างเหล่านี้ไม่แยกออกจากกันแต่เป็นส่วนหนึ่งของทานทั้งหมด  ความคิดนี้เป็นสิ่งบริสุทธิ์ในคำสอนที่แจ่มแจ้งแห่งการให้ความรู้อย่างหนึ่งที่ยุติความชั่วและเพาะปลูกความดี  ชำระล้างใจของท่านเอง

คำสอนเหล่านี้เป็นคำสอนที่ไม่ล้าสมัยที่ถ่ายทอดจากครูอาจารย์เป็นผู้ชี้บอกทางแห่งความสะอาดที่ออกจากทุกข์  อย่างไรก็ตามเกี่ยวโยงไปสู่มรรค๘  (อริโยอัฏฐังคิโกมัคโค) แม้จะเรียกว่าทางแห่งพระอริยะ๘  ประการ  โดยไม่กำหนดว่าบุคคลนั้นอยู่ในฐานะ  วรรณะหรือเผ่าพันธุ์ใดนี้เป็นความหมายและความยอดเยี่ยมอันประเสริฐ

มรรค๘  แบ่งออกเป็น๓  ชั้นคือ  ศีลสมาธิปัญญา  นี้เป็นลักษณะเฉพาะพระพุทธศาสนาและแยกออกจากทุกศาสนาและปรัชญา

ส่วนประกอบ๘  ประการของมรรคมีดังนี้คือ

๑.  ความเห็นชอบ      สัมมาทิฏฐิ    กลุ่มปัญญา

๒.  ความดำริถูกต้อง      สัมมาสังกัปปะ    ,,

๓.  วาจาชอบ    สัมมาวาจา  กลุ่มศีล 

๔.  การงานชอบ  สัมมากัมมันตะ    ,,

๕.  อาชีพชอบ   สัมมาอาชีวะ    ,,

๖.  พยายามชอบ  สัมมาวายามะ    กลุ่มสมาธิ

๗.  สติชอบ  สัมมาสติ    ,,

๘.  สมาธิชอบ  สัมมาสมาธิ    ,,

หนทางดังกล่าวนี้  ในคำสอนของพระองค์ครั้งแรก  พระพุทธเจ้าเรียกว่าทางสายกลาง  (มัชฌิมาปฎิปทา)  เพราะว่า  เป็นการหลีกเลี่ยงส่วนสุดโต่งทั้ง๒  คือ  การหมกมุ่นในกาม  ความยินดีในทางต่ำ  ที่จะนำไปสู่โลกีย์  และความชั่วนี้เป็นส่วนปลายสุด  การทรมานตนเองในรูปแบบที่ตัดขาดซึ่งทำให้เป็นความทุกข์อันเป็นส่วนปลายสุดของทาง

การดำรงชีวิตในพระราชวังท่ามกลางเสี่ยงเพลงและการร่ายรำ  ความฟุ่มเฟือยและความยินดี  โพธิสัทธา  รู้ได้โดยอาศัยประสบการณ์  ความรู้สึกยินดีพอใจไม่สามรถนำมนุษย์ไปสู่อันเป็นความจริงและนำพาเราไป๖  ปี  ของการบำเพ็ญตบะอย่างยิ่งยวด  เป็นสิ่งที่ทำให้พระองค์ผ่ายผอม  การปฎิยัติอย่างพากเพียรทำให้พระองค์ค้นหาความบริสุทธ์และนำพาจิตใจขั้นสุดท้ายให้ประสบผลสำเร็จ

มันเป็นสิ่งไร้ประโยชน์และความพยายามที่ไร้สาระ  การหลีกเลี่ยงส่วนที่สุด    อย่างนี้  พระองค์ดำเนินไปตามทางแห่งการปฏิบัติทางจิตฝึกเพื่อให้สำเร็จจนรู้สึกได้ด้วยตนเอง  เพื่อค้นหา  ทางสายกลางอันประกอบด้วยองค์ประกอบ    อย่าง

ในขั้นนี้เป็นคำอธิบายที่รวบรวบ  องค์๓ประการ  และสิ่งเหล่านี้ได้ชี้นำเพื่อกระตุ้นให้เกิดความสำเร็จในทางที่ประกอบด้วยส่วนประกอบ    ประการที่จะอธิบาย  ส่วนประกอบจะชี้ชัดลงไปถึงความสมบูรณ์ทั้งหมดขององค์เหล่านั้นในขั้นตอนดังกล่าว

การปฎิบัติต้องมีการประคับประคองอย่างสม่ำเสมอในจิตที่เป็นขั้นตอนที่เป็นแนวทางในการแสดงออกทีเป็นรูปเป็นร่าง  แม้ว่า  องค์ประกอบที่รวมกันกล่าวการดำเนินตามทางในการรู้สึกอย่างสูงสุดขั้นตอน    ประการมีความหมายส่วนประกอบทางศีลธรรม    ประการ

สิ่งเหล่านี้ต้องพึ่งพาอาศัยกันและสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน  และเป็นขั้นสูงสุด  หน้าที่ของสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกันองค์เหล่านี้ไม่ได้ติดตามและปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งหลังข้อใดข้อหนึ่งในข้อปฏิบัติ  แม้ว่าทางที่ต่ำสุดแต่ละอย่างและทุกองค์ประกอบเจือปนกับขั้นตอนของสัมมาทิฏฐิ  เพื่อที่จะเป็นกุญแจไขไปสู่พุทธศาสนา

พระพุทธองค์ทรงตรัสไว้ว่า  “ดูกรภิกษุทั้งหลายเพียงสัมมาทิฏฐิอย่างเดียวก็หาไม่  ไม่ใช่ปัจจัย    อย่าง  ที่ทำให้เราเดินทางยาวนาน  ท่องเที่ยวยาวนานอยู่ในสังสาระ  ระหว่างท่านและเรา  อะไรคือ    ประการ  คือ  ศีล  สมาธิ  ปัญญา  และปัจจัยเกื้อหนุนนอกจากเมื่อองค์    ประการเหล่านี้  ดูกรภิกษุทั้งหลายสัมมาทิฏฐิและพระอริยะถอนรากจากความทะยานอยากในสังสารวัฏทำลายการเกิดใหม่และไม่มีการกลับมาเกิดอีก”

พระองค์ได้กล่าวต่อไปว่า  “ดูกรภิกษุ  สมาธิมีศีลเป็นเครื่องรองรับนำไปให้เกิดผลมหาศาล  นำให้เกิดความได้เปรียบ (ผลกำไร)  ปัญญาเป็นเครื่องรองรับจิตใจอย่างทั้งหมดและขจัดความมัวเมาอย่างสิ้นเชิง  ความรู้สึกปรารถนาจากกระบวนการเปลี่ยนแปลง  ความผิดพลาดและความไม่รู้

คำกล่าวเหล่านี้ของพระพุทธเจ้าได้อธิบายส่วนหน้าที่และจุดประสงค์  ที่ทำการพัฒนาเรื่องศีล  สมาธิ  ปัญญาการปลดปล่อยมีความหมายถึงความรู้สึก  ความรู้สึกการดำรงอยู่  ของความสิ้นสุด  แห่งการถอนราก    ประการ  คือ  ความโลภ  ความโกรธ  ความหลง  หรืออวิชชา (โลภะ  โทสะ  โมหะ)  เหล่านั้นจะทำลายจิตใจแห่งความคิดของมนุษย์  เหล่านี้เป็นสาเหตุแรก  ถูกกำจัดโดยผ่านการฝึกในศีล  สมาธิ  และปัญญา

ดังนั้น  มันจึงเป็นความบริสุทธิ์ที่สูงสุดที่คำสอนของพระพุทธเจ้าชี้ให้เห็นความบริสุทธิ์  ความสุขทางใจอย่างสมบูรณ์  อิสระจากมลทินกระตุ้นที่สะสมมาทั้งหมด

ขณะนี้  การปลดปล่อยจากมลทินทางจิตใจ ,  ความอิสระนี้จากความเจ็บป่วย  ความสงบอย่างสมบูรณ์และละวางความยึดถืออย่างสิ้นเชิง  ไม่ยึดติดคนใดคนหนึ่ง  ไม่เท่านั้น  พระพุทธเจ้าผู้สูงสุดยังสะสางความยึดในโซ่ตรวนของตัณหา  ยกเว้นความยึดถือตัวตน

ทางนี้  คือ  ศีล  สมาธิ  ปัญญา  ซึ่งเป็นคำสอนที่พระองค์ทรงสอนถึงการปฏิบัติ    ประการ 

(ทวิติสิกขา)  และไม่ถึงจุดจบในตัวมันเอง  แต่ละข้อมีความหมายถึงจุดสุดท้าย  หน้าที่ข้อหนึ่งไม่สามารถที่เป็นอิสระต่อข้ออื่นๆได้  เหมือนกรณีของแท่นบูชาจะตกถึงพื้นถ้ามีขาเดียว  ดังนั้นในกรณีนี้ข้อเดียว  ไม่สามารถทำหน้าที่โดยปราศจากข้ออื่นๆ  ได้เลย.

  องค์ประกอบ    ประการเหล่านี้  จะรองรับซึ่งกันและกัน  ศีลหรือการควบคุมความประพฤติอย่างเข้มงวด  สมาธิและสมาธิในการสนับสนุนปัญญา  ปัญญาช่วยกำจัดเมฆหมอกของปกคลุมทุกสิ่งที่ทำให้การมองเห็นไม่ชัดเจนไปสู่การเห็นชีวิต  และทั้งหมดของชีวิตให้กระจ่างแจ้งและสิ้นสุดลง

  มันเป็นความบริสุทธิ์อย่างสมบูณ์ที่ว่าการมีส่วนช่วยซึ่งกันและกันในธรรมวินัย (ธมฺมวินย)  หรือความรู้  และวิชชาจรณะ  (วิชฺชาจรณ)  ข้อบัญญัติ    ประการ  ในกระบวนการเดียวที่จะปลูกฝังความเจริญ  จากมือชำระล้างมือ  และเท้าล้างเท้า  เพื่อที่จะทำการชี้นำให้ไปพบปัญญาอันบริสุทธิ์และปัญญาที่มีผู้ชี้นำส่วนประกอบนี้อาจจะเกิดในใจของผู้ศึกษาในพุทธศาสนา  มีความคิดโดยเฉพาะอย่างยิ่งในวงจรของนักปรัชญา  ที่นับถือการสอนของพระพุทธเจ้า  จากการพิจารณาในส่วนของคำสอนของอภิปรัชญาโดยปราศจากคุณค่าของหลักการที่สำคัญ

คำสำคัญ (Tags): #พระอรหันต์
หมายเลขบันทึก: 512380เขียนเมื่อ 17 ธันวาคม 2012 17:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 ธันวาคม 2012 17:09 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

 

ชีวิตในแนวทางของพุทธศาสนา  อย่างไรก็ตาม  เป็นหลักการที่เคร่งครัดของการกำจัดการพูด  ทางใจ  มันเป็นการพัฒนาตนเองและเพื่อความบริสุทธิ์ในตนเอง  การเน้นความสำคัญของหลัการเป็นผลลัพธ์ที่จะเข้าไปในส่วนของวิชาปรัชญา,  ตรรกศาสตร์, นามธรรมหรือส่วนที่ถูกรับรู้

  พระพุทธเจ้ากระทำภาษาเพื่อเตือนสติผู้ติดตามที่ต่อต้าน  การสอนในหนังสือดังนี้

  “แม้ว่าเขาจะท่องจำตำราที่ศักดิ์สิทธิ์มากเพียงไร  แต่ไม่ประพฤติปฏิบัติก็เหมือนกับคนเลี้ยงวัวที่คอยนับฝูงวัว  (ไม่ประสบความสำเร็จในงานที่เกี่ยวกับใจ)  เขาไม่ได้ส่วนแบ่งแห่งผลงานที่เข้าถึงความสงบ”

  แม้ว่าเขาจะท่องตำราเพียงเล็กน้อย  แต่เขาประพฤติปฏิบัติตามคำสอน  สละทิ้งความกำหนัด, ความพยาบาท ,  มายาที่ครอบงำเป็นสัมมาทิฏฐิ  ใจของเขาเข้าถึงความปลดปล่อยอย่างสิ้นเชิง  และไม่ยึดติดในสิ่งใดๆ  ชาตินี้หรือชาติหน้า  เขาได้เป็นผู้มีส่วนของผลอันสงบ.

  นี้เป็นการชี้บอกที่แจ่มแจ้งในแนวทางของชีวิตแห่งพระพุทธศาสนา  หลักการของพระพุทธศาสนาเป็นความจริงอย่างสูงสุด  ตื่นจากอวิชชาเพื่อเข้าไปสู่ความรู้ที่บริบูรณ์  ไม่ขึ้นอยู่กับส่วนแห่งการพัฒนาความเป็นปราชญ์  แต่เป็นการสอนภาคปฏิบัติที่จะนำให้สาวกได้เข้าถึงความรู้แจ้ง  และนำตนออกจากภพเด็ดขาด.

  พระพุทธเจ้าไม่กังวลกับการดำรงชีวิต  หรือวัตถุทางธรรมชาติ  กรรมอันเดียวของเขาเข้าสู่การปลดปล่อย.  ความยึดติดในชาติภพ  เมื่อแก้ปัญหาความไม่เที่ยง  การเปลี่ยนแปลง  เขาหยั่งรู้ในความจริงอันประเสริฐ    ประการอย่างบริบูรณ์  สัจจะนิรันดร์ของชีวิต

  ความจริงของความรู้นี้  เขาพากเพียรเปิดเผยสิ่งเหล่านั้นซึ่งเป็นเสียงดังกล่าว  และไม่เป็นกำลังในโอกาสอื่น  เขาไม่เคยเรียกหรือชักจูงผู้คนให้เดินตามโดยการใช้การบีบบังคับ  และใช้อำนาจกับคนต่างสิทธิ  ให้เชื่อในคำสอนของพระองค์  เขาไม่ให้กำลังใจแก่สาวกให้เชื่อเขาอย่างมืดบอด  แต่ปรารถนาให้เขาไต่สวนคำสอนของพระองค์  ซึ่งเชื้อเชิญให้ผู้ค้นหามาดูเอง  (เอหิปัสสิกะ)  นี้เป็นการเห็นและความเข้าใจ,  และไม่มืดบอด,  นี้เป็นความเห็นของอาจารย์

  ความเข้าใจในคำสอนภายในนั้น  ต้องพัฒนาภายในสติปัญญาในใจของบุคคลนั้นเอง  พระพุทธเจ้าตรัสว่า  จงดูในใจของตนเองผู้มีความฉลาดก็จะเชื่อด้วยตนเอง

  ในวันนี้มีการพัฒนาของโลกมีทิศทางที่พัฒนาไปไม่หยุดนิ่ง  การดำเนินงานทางวิทยาศาสตร์เป็นขั้นตอน  และการทดลองกับความเที่ยงและความแน่นอน  การค้นพบที่ก้าวหน้า  และหลักการติดต่อสื่อสาร  และสัมพันธ์กันเป็นผลงานสร้างสรรค์ขึ้น  การพัฒนาในสิ่งเหล่านี้ถึงแม้ว่าสิ่งเหล่านี้มีผลประโยชน์และรางวัล  เป็นเรื่องวัตถุและภายนอกโดยสิ้นเชิง

  ภายในกระแสเหล่านี้ของใจและร่างกายของคน  มีสิ่งที่น่าพิศวงที่มนุษย์ครอบครองในวิทยาศาสตร์เป็นเวลาหลายๆปี

  โดยแท้จริง  โลกซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์พยายามที่จะพัฒนาเห็นด้วยกับความคิดของพระพุทธศาสนา  ผู้กระทำจำนวนมากเปลี่ยนทิศทางจนหมุนเวียนเป็นเส้นรอบวง  มันไม่ทำให้เกิดสติปัญญาและนำมาซึ่งความเศร้าใจ

  ชีวิตของเขาเป็นความมือแก่ความข่มใจกับความตาย  เกี่ยวพันกับความเปลี่ยนแปลง, และมีกรรมมาแต่กำเนิด  ยิ่งกว่านั้นความเชี่ยวชาญของต้นหญ้า, และเป็นยาที่เผ็ดร้อน  ไม่ใช่ความอัศจรรย์ทั้งหมด  และการใช้เวทมนต์คาถาของวิทยาศาสตร์สามารถปฏิรูปตลอดไป  ความเป็นอมตะ  ความวิเศษของความสว่างชั่วนิรันดร์รอคอย

  สิ่งเหล่านั้น  เท่านั้นยังสามารถจุดความสว่างเพื่อให้เข้าใจและความประพฤติของประเพณีที่ทำให้เกิดปัญญา  และคุ้มครองป้องกันภัยในทางของชีวิตของเขาทั้งหลายของความมืดและความกลัว

  วันนี้บุคคลในโลกกำหนดความเปลี่ยนแปลงของชีวิต  แม้ว่าเขาได้พบมัน  เขาไม่รักษาใจและกายกรรมกับความหยั่งเห็นในความไร้กังวล  แม้ว่าจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆอีก  ก็สามารถกล่าวว่า  เขาทำให้ไม่มีความสุขเอง  เขาดำเนินตามคนเหล่านั้น  ทำให้กงล้อหมุนอย่างรวดเร็วด้วยล้อแห่งตัณหาและน้ำตาในระหว่างซี่ล้อรถแห่งความทรมาน

  หลังจากนั้น  นักวิทยาศาสตร์หรือผู้ค้นพบ  ถ้าเขาไม่เข้าใจคำสอนสำคัญของหลักการประพฤติ  ความพากเพียรเป็นประโยชน์อย่างเร่งรีบ  ความจำเป็นที่ประยุกต์ความรู้ของชีวิต  เท่าที่คำสอนของพระพุทธเจ้าเกี่ยวข้องกับบุคคลยังไม่บรรลุ  ซึ่งยังจัดการกับอุปสรรคจำนวนมากก่อนที่เขาจะชนะการแข่งขันของชีวิต  และได้รับรางวัลอันอมตะคือนิพพาน

  สำหรับผู้เข้าใจโลกภายใน  วิทยาศาสตร์ไม่สามารถที่จะช่วยพวกเราได้พบความจริงอันสูงสุด  ไม่สามารถที่จะพบได้ในวิทยาศาสตร์  ในวิทยาศาสตร์เป็นความรู้บางอย่าง  ซึ่งเกี่ยวโยงบุคคลให้บุคคลยึดติดวัตถุมากขึ้น  ความรู้ทางโลกไม่สามารถปกป้องได้  ทัศนะอันหนึ่งของโลกและการยึดมั่นในสิ่งนั้นเป็นการมองเห็นที่เหมาะสม  ในเบื้องต้นเกี่ยวพันกับชีวิตโดยไม่เกี่ยวกับการคาดคะเนหรือการเดินทางที่ไร้สาระ  ดินแดนเพ้อฝันของจินตนาการ  แต่ได้บรรลุความจริงอันสงบและอิสระจากความป่วยไข้  หรือความไม่พอใจ (ทุกฺขา)  ความรู้ที่เป็นจริงของเขาขึ้นอยู่กับความจริงในใจ

  การเล่าเรียนสอดคล้องกับความเป็นจริงหรือไม่ 

  เราสามารถเอาชนะความอิสระทางใจ  และความสงบของความสุขที่มีอยู่จริงหรือไม่?

  เพื่อความเข้าใจในโลกภายใน  พวกเราต้องการผู้นำทางด้านจิตวิญญาณ

  ในโครงสร้างและผู้สังเกตอย่างจริงจังผู้ซึ่งมีโลกทัศน์ที่ชัดเจนและตระหนักถึงความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมองทะลุปรุโปร่งเข้าไปสู่การพักใจอย่างลึกซึ้งของชีวิตและตระหนักถึงธรรมชาติของความจริงว่าเป็นธรรมชาติที่ปรากฏพระองค์นั้นโดยแท้จริงแล้วเป็นนักปรัชญาโดยแท้จริงเป็นนักวิทยาศาสตร์โดยแท้จริงซึ่งแสดงความหมายถึงการเปลี่ยนแปลงของจิตวิญญาณอย่างบริบูรณ์และการเปลี่ยนแปลงความเข้าใจนี้เข้าไปทำให้การรู้แจ้งถึงความจริงอย่างลีกซึ้งโดยมนุษย์เอง

  ความจริงของสิ่ง๓ลักษณะคือลักษณะทั้ง๓ (ไตรลักษณ์)  คือไม่คงที่, ไม่ยินดี, เป็นทุกข์,ไม่ใช่ตน (อนิจจังทุกขังอนัตตา) 

  ความสับสนและปัญหาไม่มากไปกว่าสิ่งที่พระองค์จะขจัดออกไปด้วยพระบาทของพระองค์โดยความเข้าใจที่เป็นสิ่งไม่ยั่งยืนข้อเท็จจริงของมลทินไม่มากไปกว่าสิ่งที่พระองค์ทรงทำให้เป็นไปได้เพื่อพระองค์มีชัยชนะเหนือศักยภาพทั้งปวง  ที่ทำให้แปรปรวน  และผ่านพ้นรอดได้ด้วยความสมบูรณ์  ซึ่งเป็นการเข้าใจอย่างถ่องแท้ (วิปัสสนาญาณ) ที่พระองค์ได้รับเอง

  พระพุทธเจ้าเป็นเช่นกับผู้สามารถพยากรณ์และเป็นผู้เปิดทางแห่งการขนถ่ายสรรพสัตว์ซึ่งมีดวงตาและต้องการพบและความเข้าใจในความคิดมันเป็นความแตกต่างจากแนวทางอื่นๆที่เป็นทางที่ช่วยให้รอดสำหรับพระพุทธเจ้าแล้วการสอนเช่นนั้นเป็นสิ่งเฉพาะตนใครก็ตามที่เป็นฆราวาสหรือภิกษุอาจรู้ได้ด้วยตนเอง

  มนุษย์ชาติถูกจองจำไว้ในความสับสนทั้งภายในและภายนอก. และพระพุทธเจ้าผู้ชี้ทางบรรเทาทุกข์สรุปก็คือบุคคลผู้มีสติและความเพียรอย่างบริบูรณ์สามารถสร้างศีลที่ดี. เพื่อพัฒนาสมาธิและปัญญาและประสพความสำเร็จในการหาคำตอบที่ยุ่งยาก

  การคอยย้ำเตือนอย่างยอดเยี่ยมของพระพุทธเจ้าต่อมาพระอรหันต์๖๐รูปอย่างฉับพลันก็คือธรรมจะถูกประกาศเพื่อความสุขแก่มหาชนออกจากการสะสมของโลก

  การจัดสรรทั้งหมดของอาจารย์ถูกซึมแทรกด้วยคุณลักษณะที่ดีเด่นของจักรวาลความรักความกรุณา

  ศีลหรือพรหมจรรย์เป็นขั้นตอนเป็นพื้นฐานของความรักและความกรุณาทำไมสิ่งเหล่านี้จึงระงับความวุ่นวายและการเบียดเบียนของมนุษย์ได้

  มันไม่ใช่เพราะความรักตนเองและคนอื่นหรอกหรือ? ทำไมการช่วยเหลือคนตกทุกข์ได้ยากหรือคนขัดสนและคนระทมทุกข์? ไม่ใช่เพราะความกรุณาในคนเหล่านั้นหรือ?

  เพื่อที่จะละเว้นจากความชั่ว  และความดีเป็นหน้าที่ของศีลนี้เป็นสิ่งที่สอนไว้ในพระพุทธศาสนาความรักความกรุณาเป็นหน้าที่ของชาวพุทธไม่ละเลยศีลประกอบด้วย.ความรักที่เป็นคุณลักษณะที่อยู่ในใจ, ความอ่อนน้อม, ความอดทนความกรุณา, ความเอื้อเฟื้อและความสุขเป็นผลสำเร็จที่เกิดจากศีลและเป็นพื้นฐานทำให้ก้าวหน้าด้วยสมาธิและปัญญาหรือสมาธิปและปัญญาและเกี่ยวโยงกันกับการปฏิบัติทางจิตของพระสาวก

  ในสภาวะที่หลุดพ้นองค์๓ประการของมรรค๘จากการปฏิบัติทางกายของพุทธศาสนิกชนคือศีลมีวาจาชอบ, การงานชอบ, อาชีพชอบ,วาจาชอบเป็นสิ่งควรละเว้นจากก. การพูดเท็จและประพฤติพูดคำจริงเสมอข. การพูดส่อเสียดซึ่งเป็นตัวนำมาซึ่งความขัดแย้งและความแตกแยกและคำพุดที่ส่วนช่วยสมานสามัคคีค. การพูดคำหยาบและการว่าร้าย, และปรับเปลี่ยนคำพูดให้บริสุทธิ์ง. จากความเกียนคร้านและการนินทาและแทนที่ด้วยคำพูดที่ดีซึ่งมีความหมายและไม่ทุจริต

  การงานขอบเป็นการละเว้นจากก. การฆ่าข. การลักทรัพย์และค. การประพฤติผิดในกาม, มาเป็นการให้ทานมีความกรุณา  และมีชีวิตพรหมจรรย์อันบริสุทธิ์

  เลี้ยงชีพชอบเป็นการละทิ้งทางเสื่อมที่จะนำภัยอันตรายและความทุกข์จากความประพฤติอื่นๆคือการค้าขายเหล่านี้ก. ค้าเครื่องประหารและอาวุธข. การฆ่าสัตว์เพื่อเป็นอาหารค. คามนุษย์และทาสซึ่งมีความแพร่หลายในยุคของพระพุทธเจ้าง. ค้าขายของมึนเมาจ. ค้าขายยาพิษและดำรงชีวิตด้วยการเลี้ยงชีวิตที่ไม่ผิดและออกจากการทำอันตรายชีวิตของบุคคลอื่น. องค์ประกอบเหล่านี้เป็นข้อปลีกย่อยในขั้นตอนต่อไป

  จากข้อความข้างต้นของจริยศาสตร์พุทธศาสนานี้เป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความบริสุทธิ์จากคำสอนของพระพุทธเจ้าซึ่งไม่ให้ค้าขายของมึนเมาและน้อมนำในการทำความดีและมีเจตนที่จะทำความดีซึ่งจะเผล็ดผลให้เกิดความสุขในมวลมนุษย์หลักธรรมเหล่านี้เป็นหลักการที่ชี้ให้เห็นการอยู่ร่วมกันทางสังคมซึ่งมีส่วนสนับสนุนให้เราไว้ใจกันและกันให้มีความพร้อมเพรียงสามัคคีและมีความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์

  หลักของความประพฤติที่เรียกว่า (ศีล) เป็นพื้นฐานที่แสดงความหนักแน่นของชีวิตชาวพุทธนี่เป็นหลักการพัฒนาจิตใจหลักการนี้มุ่งให้การทำความสงบหรือสมาธิให้ใจเรามีการพัฒนาให้เกิดความรักและมีศีลธรรมการประพฤติพรหมจรรย์มีส่วนช่วยให้จิตใจมีความมั่นคงและสงบ

  หนทางที่จะเกื้อหนุนให้จิตใจมีความดีงามคือการเพ่ง (สมาธิ) ซึ่งรวมถึงองค์ประกอบ๓ประการในมรรคมีองค์  ๘ประการซึ่งประกอบด้วยเพียรชอบสติชอบและสัมมาสมาธิ

  เพียรชอบเป็นความบากบั่นที่ไม่ย่อท้อต่อความลำบาก  ก. ป้องกันการเกิดขึ้นของความชั่วและเสื่อมศีลธรรมแม้ว่าไม่มีผลในจิตใจของมนุษย์ข. ปฏิเสธการทำความชั่ว (ป้องกันความชั่วไม่ให้เกิดขึ้นถ้าเกิดขึ้นต้องพยายามดับให้สิ้นไป  ค.เพียรพยายามให้พัฒนาให้ความดีเกิดขึ้นง. พยายามรักษาความดีให้ยิ่งๆขึ้นไป

  ส่วนประกอบ๘ประการที่มีอยู่เป็นการระมัดระวังและตรวจสอบจิตที่เศร้าหมองและปลูกฝังความดีและศีลธรรม. ความคิดอันบริสุทธิ์ให้เกิดขึ้นในจิตใจของมนุษย์ชาติ

  บุคคลผู้มีความสุขุมผู้เป็นครูอาจารย์ให้โอวาทและการปฏิบัติทางกายโดยผ่านศีล (พรหมจรรย์) พิจารณาถึงจิตตนเองตลอดเวลาส่วนประกอบทางศีลธรรมและหลีกเลี่ยงความคิดที่สับสน.

  สติชอบเป็นการใช้ความรู้ตัวและจดจ่อในก.การเคลื่อนไหวของร่างกาย (กายานุปัสสนา) ข. ความรู้สึกสุขทุกข์ (เวทนานุปัสสนา) ค. กำหนดรู้ในจิต (จิตตานุปัสสนา) และง. กำหนดรู้ในธรรม(ธัมมานุปัสสนา)

  ธรรมทั้งหลายเหล่านี้พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันสติชอบสงเคราะห์เพียรชอบตลอดถึงข้ออื่นๆก็เป็นการตรวจสอบสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วให้เสื่อมไปและเป็นการพัฒนาให้มีศีลธรรมสูงขึ้นและเกื้อกูลบุคคลพึงระมัดระวังในการสำรวมวาจาร่างกายและใจเพื่อหลีกเลี่ยงกิเลสในใจกิเลสนั้นสามารถทำให้เกิดความเกียจคร้านทางวิญญาณและง่วงหงาวหาวนอน (ถีนมิทธะ) ญาณทัศนะเป็นรากฐานของสติ (สติปัฏฐานสูตร) เป็นตัวจัดการให้มีความสอดคล้องและเข้าใจในการเจริญสติปัฏฐาน๔

  สมาธิชอบเป็นความเข้มข้นอย่างมั่นคงของจิตเปรียบเทียบได้กับความสว่างไสวของตะเกียงที่ปราศจากลมเป็นการเพ่งกำหนดจิตและเป็นเหตุให้ไม่หวั่นไหวและไม่ฟุ้งซ่านการปฏิบัติที่ถูกต้องของสมาธิ  การเพ่งจิตของพระสาวกเกื้อกูลจิตและคุณสมบัติทางศีลธรรมเป็นสภาวะเพื่อความสมดุล

  โยคีจะต้องขจัดอุปสรรคที่เกิดขึ้นในใจและพิจารณาแต่ความพยายามชอบและสติชอบเป็นสมาธิอย่างสมบุรณ์มีสติปัญญาที่จะขัดขวาง,  กิเลสที่รบกวนจิตใจมนุษย์สมาธิที่สมบูรณ์ไม่หวั่นไหวธรรมารมณ์เพื่อที่จะมองเห็นสภาวะธรรมที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง

  ดังนั้นแบบแผนทางจิตไม่ยอมให้จิตไปสู่กิเลสโยคีบุคคลจะต้องปลูกฝังปัญญาที่มองเห็นความจริง  (ปัญญา) ซึ่งประกอบด้วยส่วนประกอบ๒ประการและเป็นขั้นตอนสุดท้ายกล่าวคือสัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ

  ความดำริประกอบด้วยความดำริที่จะสละ (เนกขัมมะสัมกัปปะ) ไมตรีจิต (อวยาปทะสังกัปปะ) ความดำริเหล่านี้เป็นสิ่งที่ปลูกฝังและการมีชีวิตเป็นมงคลและแพร่หลายการแข่งขันที่ไม่คำนึงถึงฐานะเผ่าพันธ์หรือหลักความเชื่อดังนั้นเขาจึงยึดเอาลมหายใจที่เพ่งพินิจในกำหนดที่กำหนดไว้รังสีแห่งความคิดมีระดับสูงขึ้นไม่สามารถเป็นไปได้โดยไม่คำนึงถึงความเห็นแก่ตัว

  มนุษย์อาจมีสติปัญญาความมุ่งมั่นแต่ไม่เพียงพอที่จะทำให้เกิดความดำริชอบจึงขึ้นอยู่กับการสอนของพระพุทธเจ้าคนโง่ (พาล) ไม่เข้าใจและเข้าใจอย่างถ่องแท้ถ้าพวกเรามีความเบาใจญาณทัศนะพวกเราจะเข้าใจว่าความเห็นแก่ตัวความโลภความพยาบาทและการทำลายไม่สามารถไปด้วยกันกับความจริงได้

  สัมมาทิฏฐิเป็นสัจจปัญญาซึมแทรกให้เกิดความคิดที่ถูกต้องไม่ทำให้เกิดความสูญเสีย

ความเห็นขอบเป็นสัจจธรรมขั้นสูงสุดเป็นความเข้าใจในชีวิตที่เป็นอย่างนั้นในกรณีนี้ความเข้าใจที่บริสุทธิ์ของอริยสัจ๔กล่าวคือ  ความจริงเรื่อง

  ก.ทุกขะความทุกข์หรือความไม่น่าพอใจ

  ข.สมุทัย

  ค.ความดับทุกข์

  ง.หนทางที่จะนำไปสู่ความดับทุกข์.

  ความเห็นขอบหรือปัญญาที่แหลมคมเป้นผลลัพธ์ในความต่อเนื่องและการปฏิบัติที่มั่นคงในสมาธิและการอบรมจิตที่แน่วแน่เพื่อที่สละด้วยการเห็นชอบเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได้ที่ความเศร้าหมองของความจริงเป็นภูมิคุ้มกันจากความไม่บริสุทธิ์และสามารถบรรลุและเป็นอุปนิสัยนำส่งจิตใจ (อกุปปาสิโตวิมุตติ)

  ผู้นำที่มีความรอบคอบจะสามารถเข้าใจว่ามี๓องค์ประกอบคือศีลสมาธิปัญญาเป็นหน้าที่ที่ไม่ได้กันจนจบ  การสืบเนื่องของจิตและเข้าถึงการอบรมที่แท้จริงและผ่านระบบของกายกรรมและคำพูด  ความบริสุทธิ์เพื่อบรรลุได้ผ่านความพยายามด้วยตนเองและการพัฒนาตนเองเพื่อแสวงหาความมั่นคงและอิสระภาพและไม่รวมถึงการวิงวอนภาวนาสวดอ้อนวอนและอำนาจภายนอก

  พระธรรมถูกค้นพบโดยพระพุทธเจ้าอย่างแท้จริงเพื่อทำให้เกิดการตรัสรู้โดยสมบูรณ์และเปิดเผยให้เห็นสัจจธรรมความจริง

  ศีลและปัญญาเป็นอิสระภาพขั้นสูงสุดสิ่งเหล่านี้เป็นความรุ่งโรจน์ของโคตมะผู้รู้แจ้ง

  ดังนั้นสัมมาทิฏฐิอย่างสมบูรณ์เป็นของพระพุทธเจ้าเป็นพระศาสดาเป็นครู, เป็นผู้บอกทาง

ความสงบอย่างสมบูรณ์เป็นพระธรรมคำสอนของพระองค์

  ความรู้ที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์กำลังเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องมนุษย์ในโลกไม่มีโอาสพักผ่อนจนเกิดความกลัวและความไม่พอใจเขาถูกทำให้เพลิดเพลินปรารถนาที่จะชนะเกียรติยศความร่ำรวยกำลังและความยิ่งใหญ่ทางใจนี้เป็นความทุกข์ของโลกที่ยังเร่าร้อนด้วยความอาฆาตความสงสัยเห็นแก่ตัวโลภอยากได้การทำลายคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นคำสอนที่เหมาะแก่กาลเวลาเป็นไปเพื่อความรักและความเข้าใจ, อริยมรรค๘ประการอันประเสริฐ  เป็นสิ่งที่พระองค์ตรัสไว้ว่า

  นี่เป็นทางสายเอก

  ไม่มีทางอื่น  เป็นไปเพื่อความบริสุทธิ์แห่งญาณทัศนะถ้าปฏิบัติตามและทำให้สับสน

  พญามาร  ความทุกข์ทั้งหมดจะสิ้นสุด  หลังจากเราเรียนรู้ความหลุดพ้น  กิเลสคือโลภะโทสะโมหะเราเรียนรู้ทางที่จะเปิดเผยสิ่งเหล่านี้. ท่านจงต่อสู้ฝ่าฟันด้วยตัวของท่านเอง

  ตถาคตเป็นเพียงผู้บอกส่วนท่านเป็นผู้เดินตามทางเหล่านั้นแล้วท่านจักพ้นจากบ่วงแห่งมาร

  สัมมาทิฏฐิเป็นสิ่งทีสำคัญสำหรับส่วนที่คงเหลือในมรรคที่เป็นสิ่งที่แน่ใจว่าถุกต้องเป็นความคิดที่จะช่วยและสื่อสารถึงความคิดเมื่อผลของความคิดและผลลัพธ์ไดเป็นสิ่งที่ทำให้ชัดเจนและไม่คลุมเครือวาจาของมนุษย์และการกระทำเป็นสิ่งที่นำไปสู่ความสัมพันธ์ที่ถูกต้องอีกครั้งหนึ่งที่ได้ผ่านสัมมาทิฏฐิจะไม่เป็นอันตรายหรือผิดพลาดความพยายามจะเพิ่มพูนสัมมาวายามะซึ่งทำให้พัฒนาไม่กีดกันการประพฤติสัมมาสติสัมมาวายามะและสัมมาสมาธิ

  ดังนั้นสัมมาทิฏฐิซึ่งเป็นหนทางที่ถูกต้องในพุทธศาสนาเป็นสิ่งทำให้เกิดความเข้าใจที่ดีต่อกันในความสัมพันธิ์

  มีเงื่อนไข๒ประการที่จะทำให้เกิดผลทางสัมมาทิฏฐิเหนือการได้รับรู้จากศาสนาอื่นเมื่อเรากำลังฟังพระสัทธรรมพระวินัยที่ดีจากที่อื่นๆ (พาราทอกโฮซา) และความสุขุมโยนิโสมนสิการ  เงื่อนไขแรกภายนอกนั่นพวกเราได้รับจากภายนอกขั้นที่๒เราได้จากภายในเป็นสิ่งที่เราเจริญขึ้น (มนสิการ) วิธีการ, ความหมาย,การกระทำไว้ในใจ

  อะไรที่พวกเราได้รับฟังเป็นโภชนาหารทางความคิดและจะนำให้พวกเราได้เข้าใจแบบชีวิตของตนเองมันคือความจำเป็นที่เราควรจะรับฟังนอกจากว่าไม่ใช่เพียงความเข้าใจที่ถูกต้องเท่านั้นและการหลีกเลี่ยงอันตรายและการเบียดเบียนตนและผู้อื่นจะเป็นการป้องกันความคิดให้ถูกต้อง

  เงื่อนไขครั้งที่๒เป็นสิ่งที่เราควรตระหนักเป็นการยากที่จะเจริญให้มากขึ้นเพราะว่าจะต้องหมั่นตรวจสอบด้วยความเอาใจใส่ในสิ่งที่เราต้องพบในชีวิตประจำวันทุกๆวันคำว่าโยนิโสมนสิการเป็นสิ่งที่ถูกใช้และมีความสำคัญมากที่สุดเนื่องจากว่าเป็นสิ่งที่ทำให้เข้าใจสิ่งที่เข้าใจยาก (การทำให้โยนิโสเกิดขึ้น) ตถาคตครรภ์ไม่ใช่สิ่งที่ใช้แทนอย่างผิวเผินถ้าจะเปรียบเทียบสิ่งเหล่านั้นเป็นรากฐานและการเอาใจใส่ในเหตุผลอโยนิโสมนสิการไม่มีปัญญาและไม่มีระบบการใส่ใจถูกทบทวนโดยพระพุทธเจ้าไม่รอดพ้นการพิจารณาอย่างถ้วนถี่หรือวิเคราะห์สรุป  ด้วยเหตุนี้ความสำคัญของการพัฒนาปฏิบัติและการงดเว้น  ความไม่มีโยนิโสมนสิการสภาวะ๒ประการนี้เป็นสิ่งที่เราเรียนรู้เพื่อเข้าสู่โยนิโสมนสิการจะเป็นการพัฒนาสัมมาทิฏฐิไปด้วยกัน

  ใครสักคนที่ค้นหาความจริงที่ไม่พอใจต่อความรุ้เพียงผิวเผินรวมทั้งความรู้จากประสบการณ์ภายนอกแต่ต้องการพัฒนาให้เกิดความลึกซึ้งและพบเห็นสิงที่อยู่ไกลที่ตาเปล่ามองไม่เห็นมันเป็นสาขาที่เราค้นหาได้ในพุทธศาสนาที่จะนำสัมมาทิฏฐิ  มนุษย์จะสามารถกลั่นกรองและเปลี่ยนพื้นฐานเพื่อเข้าสู่คุณภาพต่างๆซึ่งถูกอยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสมการทำทุกอย่างให้เรียบร้อย  เราจะไม่แยกสภาวะมองดูสิ่งเหล่านั้นทั้งหมดนอกจากว่าขึ้นอยู่กับเขาว่าแบ่งเขาออกโดยขึ้นอยู่กับลักษณะที่เด่นชัดเพื่อว่าธรรมแนะนำความจริงสูงสุดที่จะเข้าใจความบริสุทธิ์

  พระพุทธเจ้าแยกแยะการวิเคราะห์เพื่อตอบปัญหาระดับที่สูงสุด (วิภัชชวาที) ขณะที่นักวิทยาศาสตร์ตัดสินข้อพิสูจน์โดยการเข้าไปในเซลล์ต่อเซลล์เขาจะวิเคราะห์ส่วนประกอบทั้งหมดและเงื่อนไขที่ทำให้เกิดส่วนประกอบเรื่องธาตุ

  สิ่งสูงสุดของเขาเป็นความเข้าใจผิดและประณามการคิดตื้นๆการใส่ใจในความไม่เป็นระบบซึ่งเฝ้าดูจนเกิดความยุ่งเหยิงและขัดขวางการสอบสวนของความจริงทางธรรมชาติมันเป็นความคิดที่เป็นสัมมาทิฏฐิเป็นเหตุให้พบเห็นและเกิดผลลัพธ์ความเกิดขึ้นและการดับของสภาวะทั้งหมดความจริงในธรรมชาติเป็นทางที่เป็นที่พึ่งเท่านั้นและไม่ผ่านความเชื่ออย่างงมงายทัศนคติที่ผิดความคิดหรือปรัชญาที่เข้าใจยาก

  พระพุทธเจ้าตรัสว่าพระธรรมเป็นความฉลาดไม่ใช่เพื่อความเขลาและได้อธิบายทางที่มีความหมายถึงวิธีทางที่บรรลุถึงธรรมเป็นขั้นตอนและหลีกเลี่ยงความเห็นผิดสัมมาทิฏฐิเป็นสิ่งที่ซึมผ่านระบบการสอนทั้งหมดแผ่ซ่านทุกๆส่วนและลักษณะของพระธรรมและหน้าที่ที่เหมือนกุญแจไขเข้าไปสู่พระพุทธศาสนา

  อะไรเป็นสัมมาทิฏฐิ? มันคือความเข้าใจในทุกข์หรือความทุกข์ตกที่เกิดขึ้นมันดับและหนทางที่เข้าไปสู่ความดับ

  ด้วยเหตุนี้อวิชชาของธรรมชาติที่มีอยู่จริงเป็นความไท่รู้ขั้นแรกของอริยสัจ๔มันเป็นเพราะว่าอวิชชาของความจริงเหล่านี้ดำรงอยู่ถูกกำจัดขอบเขตจนกลายเป็นและเกิดอีกและเกิดอีกนี้เป็นคำสอนของพระพุทธเจ้า

  ดูก่อนภิกษุการคิดไม่สามารถเข้าใจไม่สามารถเจาะทะลุเข้าไปถึงอริยสัจ๔ได้ซี่งเป็นการค้นหายาวนานท่องเที่ยวไปในสังสาระที่ยาวนานในวงเวียนแห่งวัฏฏะทั้งท่านและเราแต่เมื่อความจริงอันประเสริฐและความเข้าใจและความรู้แจ้งถูกเปิดเผยความโลภสำหรับความดำรงอยู่การทำลายสังสาระที่เป็นทั้งทำให้เกิดขึ้นและไม่มีการมาเกิดอีก

  พระธรรมข้อแรกของพระองค์การที่ปัญจวัคคีย์ที่พระพุทธเจ้าสอนมาก่อนความรู้และวิสัยทัศน์ความจริงเกี่ยวกับความจริงอันประเสริฐในขั้นตอนที่๓และลักษณะรูปร่างที่ไม่ชัดเจนสำหรับเราเราไม่เกี่ยวข้องถึงการบรรลุความรู้แจ้งอย่างสูงที่หาที่เปรียบได้แต่เมื่อความรู้ของเราและวิสัยทัศน์ของความจริงเกี่ยวกับอริยสัจ๔ชัดเจนสำหรับเราดังนั้นเราได้พบถึงชัยชนะการรู้แจ้งอย่างสูงสุดที่หาที่เปรียบมิได้ในโลก

  คำเหล่านี้ได้แสดงสัมมาทิฏฐิไว้อย่างชัดเจนในความรู้สึกที่สูงที่สุดเพื่อความเข้าใจในอริยสัจ๔ความจริงที่รวมกันเข้าด้วยกันเป็นความเข้าใจในความสับสนของธรรมชาติบุคคลซึ่งเข้าใจความจริงเหล่านี้อย่างเต็มเปี่ยมจะถูกขนานนามว่าผู้หยั่งรู้อย่างสุขุม

  ตอนนี้สัมมาทิฏฐิมี๒ชนิดคือโลกนี้และโลกหน้าความรู้ของโลกตามปกติเป็นประสิทธิภาพทางความสัมพันธ์ที่เกิดผลทางศีลธรรมหรือการกระทำในผลลัพธ์ของพวกเรา (กมฺม, กมฺมวิปาก) และความรู้ที่ไปตามอริยสัจ ๔ (สจฺจนโลมฺมิกญาณ) ถูกเรียกว่าเป็นความรู้ในโลกนี้ (โลกียะ) สัมมาทิฏฐิมันเกี่ยวกับโลกนี้ เพราะว่าความเข้าใจอย่างเดียวยังไม่สามารถทำให้หมดจากหมดมลทิน นี้อาจจะเรียกว่า การรู้แจ้งตาม (อนุพุทธะ) แต่สัมมาทิฏฐิเป็นประสบการณ์ที่ทำให้บรรลุกรือการรู้แจ้งใน ๔ ขั้นที่ถูกเรียกว่า ความรู้เหนือโลก (โลกุตระ) สัมมาทิฏฐินี้ คือ ผลของความรู้ (ปฏิเวธ) ด้วยเหตุนี้การเข้าใจที่ถูกต้องทำให้เจริญขึ้นตามแบบโลก (ปุถุชน) และเป็นผู้ประเสริฐ (อริยะ) มันเป็นระดับสูงสุดที่เป็นสัมมาทิฏฐิ ในความต่อเนื่องกับ ๗ ข้อที่เหลือ เพื่อการก้าวไปสู่ความสมบูรณ์

  เนื่องด้วยสัมมาทิฏฐไม่เพียงพอ บุคคลธรรมดามักจะมืดบอดต่อความจริงของชีวิตตามธรรมชาติ และพ่ายแพ้ต่อประสบการณ์กับชีวิตจริงๆ ความทุกข์เป็นสิ่งที่ไม่น่าพอใจ เราไม่ได้พยายามแม้ว่าจะยึดเอาข้อสรุปอย่างรีบด่วนในคำสอนที่เป็นการมองโลกในแง่ร้าย มันเป็นธรรมชาติ บางทีมันก็เอาไปหมดในความเพลิดเพลินทางโลก การดำรงซึ่งเป็นความอยากที่มากขึ้นมากขึ้น ในเรื่องที่น่ายินดีของความรู้สึกและความเจ็บใจที่ขุ่นเคือง และเกิดความทุกข์ทางจิตมากขึ้น และวกกลับมาทำให้เป็นทุกข์ เขาไม่อยู่ภายใต้อารมณ์เหล่านี้ อย่างไรก็ตาม การรู้แจ้งที่ว่าเป็นสิ่งราบเรียบได้รับการประณามความคิดทางความทุกข์ และเพื่อความสะดวกให้ตัวเขาเอง และซึ่งมองในแง่ดี เขายึดความดำรงอยู่ที่จะอยู่เหนือการกลับในความไม่น่าพอใจของชีวิตตลอดไป

  มันเป็นข้อเท็จจริงทางจิตวิทยาที่ว่าบุคคลไม่ต้องแสดงธรรมชาติที่แท้จริงบ่อยๆ ที่อธิบายถึงการพักผ่อนในส่วนลึกของใจ คืออะไร ขณะที่พวกเราดูเหมือนว่ามีความปรารถนาในสิ่งอื่น ๆที่จะเชื่อ ว่าเขามีความเข้มแข็ง และร่าเริง และมีอิสระจากความกังวลและความยากแค้นมันเป็นเหตุผลทางจิตวิทยา ในทำนองเดียวกัน ที่คนจำนวนมาก มีเจตนาหรือไม่ไม่ต้องการพูดหรือที่จะพิจารณาในโรคภัยทั่วไปของความทุกข์ ความไม่น่าพอใจ เขารักความเพลิดเพลิน มายา และเขามีสภาพอารมณ์ที่ปลอดภัยและอยู่ในใจและสวรรค์ในจิตใจ ถึงแม้ว่าผู้คนและยอมรับ ความเปลี่ยนแปลงที่เป็นลักษณะโดดเด่นของการดำรงอยู่ เขาไม่สามารถกำจัดออกไปโดยพวกเราเอง อำนาจดึงดูดใจ และสิ่งที่ทำให้ตื่นเต้นซึ่งเปลี่ยนบุคคลในสิ่งทั่วๆ ไป เขารักษาความเชื่อว่าสิ่งที่เป็นไปได้ที่ค้นหาหนทางของความสุข ในการเปลี่ยนแปลงอย่างนี้มาก ที่พบจะรวมของความปลอดภัยในวงเวียนของความมั่นคง เขาคาดการณ์ว่าแม้ว่าโลกเป็นสิ่งที่ไม่มั่นคง  เขาสามารถทำมันให้แน่ใจและให้เกิดความมั่นคง และ ดังนั้น การต่อสู้ที่โหดร้ายอย่างโลก ๆ จะยังคงดำเนินต่อไปด้วยความพากเพียร ความพยายาม ความกระตือรือร้นที่ไร้ผล

  ความพยายามที่จะปรับปรุงตนเองและโลกในทุกทางที่เป็นไปได้ ที่คุ้มครองสภาวะที่ดีกว่าในทุก ๆชีวิตมนุษย์ที่วนเวียน และทำให้แน่ใจต่อการเสี่ยง, แสดง, โดยปราศจากความสงสัย ไม่เป็นความสุขที่แท้จริง ไม่ใช่การพักผ่อนที่แท้จริงในโลก นี้เป็นธรรมชาติที่ไม่น่าพอใจของโลก ภาพแห่งความเจ็บปวด ชัดเจนใน ๒ ตาที่ได้เห็นด้วยจิตของตัวเพื่อที่จะเข้าใจ มันเป็นสัมมาทิฏฐิที่จะนำให้ภาพแห่งความชัดเจนของอะไรซึ่งเราเรียกว่า ชีวิตก่อนที่ตาภายในของเรา และนี้คือภาพแห่งความเป็นจริง (ยถาภูตญาณทัสนะ) ในสิ่งซึ่งไม่มีคำถามของการมองเห็นและแง่มุมที่ดี และการมองโลกในแง่ร้ายของการมองสิ่งต่างจากสิ่งที่รักใคร่มากที่สุดหรือจุดที่ไม่รักใคร่พอใจ

  เมื่อเราหันกลับมาสู่สัมมาทิฏฐิสูตร ธรรมบทที่ ๙ ของมัชฌิมนิกัจจะหนึ่งใน ๕ ของคัมภีร์ต้นฉบับ, พวกเราพบหลักการของการรับสัมมาทิฏฐิ ที่ถูกอธิบายในทางที่แตกต่าง ๑๖ ประการ ซึ่งสามารถที่จะลด ๔ ประการ

ก.การอธิบายทางของสิ่งที่เป็นสาเหตุทางศีลธรรม

  ข.โดยผ่านอริยสัจ ๔

  ค.ผ่านทางการบำรุงกำลัง

  ง.ผ่านทางการเกิดขึ้นการพึ่งพาอาศัย

  ขั้นที่ ๒ และทาง ๔ ประการที่จะอธิบายสิ่งที่เหมือนกันทุกอย่าง เพื่ออธิบายทั้ง ๒ ลักษณะแห่งคุณสมบัติ กล่าวคือ กระบวนการแห่งการเกิดขึ้นและความดับ (สมุทัย นิโรธ) ในคำอื่นๆ ความเป็น (ภวะ) และความเป็นของความดับ (ภวนิโรธ)

  ในขั้นที่ต่ำกว่าสัมมาทิฏฐิจะกระตุ้นให้มนุษย์เข้าใจสิ่งที่เป็นสาเหตุของศีลธรรม (กมฺมสงฺคตญาณ) ซึ่งส่งให้เห็นความเข้าใจของกุศลกรรมบถ (กุศลกรรม) และอกุศลกรรม ๑๐ (อกุศลกรรม) การกระทำความดีนำมาซึ่งผลลัพธ์ที่ดี เขาควรได้รับรางวัลหรือคำชมเชย และนำความสุขในปัจจุบันและในภายหลัง กุศลกรรมบถ ๑๐ จึงถูกเรียกว่าข้อปฏิบัติทางกายที่ดี (กุศลกรรมบถ) การกระทำทางกายที่ไม่ดี ให้ผลเป็นสิ่งที่ไม่ดี พวกเขามีข้อบกพร่องและนำความทุกข์มาให้ การเกิดขึ้นแห่งความเจ็บปวดในปัจจุบันและในภายหลัง อกุศลกรรมบถ ๑๐ ถูกเรียกว่า ข้อปฏิบัติแห่งความชั่ว (อกุศลกรรมบถ)

  พระพุทธเจ้าในสถานที่แสดงธรรมมากกว่าหนึ่งครั้ง พระองค์ได้เน้นย้ำให้เห็นความสำคัญของการกระทำทางจิตวิทยา (กมฺม)

  โอภิกษุ นั้นคือเจตนาว่า ฉันเรียกว่า กรรม ความมีการกระทำที่ผ่านทางกาย การพูด และใจ มันเป็นความเข้าใจของการที่เป็นสาเหตุทางศีลธรรม ซึ่งกระตุ้นความคิดของมนุษย์ให้ต่อเนื่องไปสู่ความชั่วหรือความดี เขาผู้ซึ่งมีความรู้ อะไรเป็นสาเหตุแห่งศีลธรรมว่า ความรู้ที่ดีว่ามันคือการกระทำด้วยตัวเขาเองว่า ทำให้ความทนทุกข์ในชีวิตหรือตรงกันข้าม เขารู้ว่าสาเหตุที่ถูกต้องของความแตกต่างและความไม่เท่าเทียมกันของชีวิตที่เกิดมา เป็นสิ่งดีหรือการกระทำความชั่วของปัจเจกชนแต่ละคนในอดีตและชีวิปัจจุบัน ลักษณะของเขาเป็นสิ่งที่สามารถกำหนดให้ล่วงหน้าโดยการเลือกของเขาเอง ความคิด การกระทำ ซึ่งเขาสามารถเลือกได้ เป็นเรื่องของร่างกายที่เป็น ด้วยเหตุนี้เขาจึงเข้าใจในตำแหน่งของเขาในนี้ในจักรวาลที่ลึกลับ และความประพฤติในเส้นทางที่สนับสนุนศีลธรรม และความก้าวหน้าทางใจ สัมมาทิฏฐิชนิดนี้เป็นทางเกี่ยวกับโลกให้ประโยชน์ในการรู้แจ้งของความจริง ๔ ประการ

  ในขณะที่มาปรึกษากับหลักการรับสัมมาทิฏฐิในทางของอริยสัจ ๔ กันเถอะ พวกเราได้มีรุ่งอรุณแห่งอริยสัจ ๔ โดยไม่ถูกแยกจากขันธ์ ๕ ภายนอกของสิ่งที่ค้นหาไม่ถึง ความเข้าใจของธรรมชาติเกี่ยวกับความจริงของขันธ์ ที่บอกเป็นนัยเรื่องความรู้แจ้งในอริยสัจ ๔ มันก็คือ ความจำเป็นอย่างมากที่จะมีความคิดที่ชัดเจนในขันธ์ ๕ ซึ่งได้อธิบายในข้อปลีกย่อยในบทที่ ๓

  การวิเคราะห์ของพระพุทธเจ้าที่ถูกเรียกกันว่า เข้าไปเปลี่ยนแปลงขันธ์ ทำให้เกิดความชัดเจนว่า ไม่สิ่งใดที่ยึดถือ ไม่มีอะไรที่จะรักษาได้ชั่วนิรันดร์ ในความสืบเนื่องของขันธ์

  ความเปลี่ยนแปลงหรือความไม่มั่นคงเป็นลักษณะที่จำเป็นในการสิ่งที่มีอยู่โดยการรับรู้โดยประสาทสัมผัส พวกเราไม่สามารถจะกล่าวอย่างใดอย่างหนึ่ง สิ่งที่เคลื่อนไหวเองได้หรือเคลื่อนไหวไม่ได้ ทนอยู่ได้นาน แม้ในขณะที่เรากล่าวมันก็เสื่อมลงไป ขันธ์เป็นสิ่งที่รวมกันและถูกกำหนดและจะเป็นอย่างนั้นตลอดกาล อย่างไรก็ตามกรรมจะเป็นเหตุและผล ความไม่ตายเป็นจิตสำนึกของใจ และส่วนประกอบไม่เปลี่ยนแปลงและในขณะที่ยังไม่ดับ แต่เป็นขั้นตอนที่ช้าๆ ร่างกายทางกายภาพดัดแปลงจากชั่วครู่ชั่วคราวได้อีกด้วย จากขณะหนึ่งไปขณะหนึ่ง เราผู้ซึ่งเห็นอย่างชัดเจนว่า ขันธ์ ๕ เป็นสิ่งที่ไม่เที่ยงแท้และไม่มั่นคง นี้เป็นสัมมาทิฏฐิ พระพุทธเจ้าให้คำเปรียบเทียบ ๕ ประการที่น่าสนใจมาก ๕ ประการที่จะบรรยายถึงความเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของขันธ์ ๕ เขาเปรียบเทียบรูปแบบทางวัตถุหรือร่างกายเป็นกลุ่มก้อนไปสู่หยดน้ำ การทำลายของฟองน้ำ ความเข้าใจที่ลวงตา การจิตนาการทางจิต และสิ่งมายาหรือสิ่งลวงตา และตรัสบอกภิกษุ อย่างนั้นแหละ ก้อนเนื้อ ฟองน้ำ ภาพลวงตาในความเพ้อฝัน มายาหรือลวงตา พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า

  อะไรก็ตามวัตถุธาตุไม่ว่าอดีต อนาคต หรือปัจจุบัน ภายในหรือภายนอกไม่มีการลดหรือเบาบาง ทะนงตัวหรือต่ำ ใกล้หรือไกล วัตถุที่นักบวชมองเห็นพิจารณาตรวจดูและมีสติ การมองในเวลาที่ทำสมาธิและการปฏิบัติรวมทั้งการเอาใจจดจ่อเป็นความว่างเปล่า เขาไม่พบสาระและปราศจากเนื้อแท้ อะไรที่เป็นเนื้อแท้และมีอะไรที่คงทนหรือไม่ พระพุทธเจ้าได้ตรัสในความหมายสิ่งที่รวมกันและเหลืออยู่ และตรัสว่า อะไรคือสาระ เป็นอารมณ์หรือไม่ ในสภาวะอารมณ์ที่ได้มองเห็นในความรู้สึกทางวิญญาณ

  ด้วยเหตุนี้พวกเราพบว่าสิ่งนี้มีความก้านหน้ามากกว่าเดิม การวิเคราะห์ในรูปขันธ์ ๕ เป็นสัมมาทิฏฐิที่จะรู้ว่าภายใน (วิปัสสนา) การที่ตั้งจิตอยู่ในงานทำให้ความจริงภายในของขันธ์๕ ที่เกาะตัวกัน โดยมีลักษณะ ๓ อย่าง (ไตรลักษณ์) กล่าวคือความไม่เที่ยง, ความไม่สามารถคงทนอยู่ได้,ความไม่ใช่ตัวตน

  พระอรรถกถาได้อธิบายไว้ดังนี้

  “ ขันธ์ ๕ มีลักษณะไม่คงที่  อะไรก็ตามที่ไม่คงที่  จะเป็นทุกข์ เป็นสิ่งที่ไม่สามารถคงทนอยู่ได้  อะไรก็ตามที่เป็นทุกข์  มันปราศจากตัวตน  อะไรที่ปราศจากตัวตน นั่นไม่ใช่เรา  เราไม่ใช่อย่างนั้น  ไม่มีอะไรในตัวเรา  ดังนั้น เราจะมองเห็นในปัญญาอย่างสมบูรณ์  (สมฺมาปญฺญา)  ที่เป็นอย่างนั้น  ใครก็ตามที่มองเห็นปัญญาอย่างสมบูรณ์อย่างแท้จริง ใจของเขาไม่ยึดติดและปล่อยวางจากกิเลส เขาได้ถูกปล่อยให้เป็นอิสระ

  ท่านนาคารชุนได้บันลือด้วยถ้อยคำเหล่านี้ว่า เมื่อคติของอาตมันคือตนและวิญญาณดับ ความคิดว่ามีตัวเราได้ดับและเป็นความอิสระจากความคิดและการมีตัวเรา

  นั่นไม่ใช่ขันธ์ ๕ เท่านั้นที่ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ และ อนัตตา แต่เหตุและสภาวะที่เป็น ก่อให้เกิดการรวมตัว และไม่คงที่ ไม่ถาวร และไม่สามารถอยู่ได้และปราศจากตัวตน จุดนี้พระพุทธเจ้าได้ตรัสแสดงบ่อยครั้งมาก

  สังขารที่เป็นวัตถุ, และนามรูป , ทัศนคติ ส่วนปลีกย่อยในจิตใจ และวิญญาณ เหล่านี้ ไม่เที่ยง อะไรเป็นสาเหตุ และสภาวะที่มีการเกิดขึ้น แห่งกฏ ๓ ประการ ที่มีความไม่เที่ยงอยู่ด้วย  ความไม่คงที่คืออย่างไร  การรวมตัวที่เกิดขึ้นจากอะไรที่ไม่คงที่ นี้แหละคือความคงที่

  รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ เป็นสิ่งที่ไม่คงทน อะไรเป็นสาเหตุและสภาวะมีการเกิดขึ้นของสิ่งที่รวมกัน ๓ อย่าง สิ่งเหล่านั้นไม่คงทน นั่นคือ อย่างไร การเกิดขึ้นของสิ่งที่รวมตัวกันจากสิ่งซึ่งไม่คงทนเป็นสิ่งที่น่าสนุกหรือ ?

  รูปธรรม และนามธรรม นั่นปราศจากตัวตน (อนัตตา) อะไรก็ตามซึ่งเป็นสาเหตุ และสภาวะที่มีการเกิดขึ้นของสิ่ง ๓ อย่าง นั่นปราศจากตัวตนด้วย นั่นเป็นอย่างไร? การเกิดขึ้นของการรวมตัวจากอะไร ซึ่งปราศจากตัวตน (อัตตา)

  ผู้เป็นอริยสาวก (สุตว อริยสาวโก) ได้เข้าใจสิ่งที่ไร้กังวล จากวัตถุทั้งหลาย และวิญญาณ  อายตนะ, การบำเพ็ญทางจิต  ผ่านความไร้กังวล และถอดถอนความรู้สึกนั้นออก ผ่านความรู้สึกที่อคติ ฉะนั้นเขาได้ถูกปลดปล่อยอย่างเป็นอิสระ การถูกปลดปล่อยให้เป็นอิสระ เขาจะเข้าใจถึงความรู้ที่นำไปสู่ความเป็นอิสระ  การทำลายความเกิดอยู่ในชีวิตที่บริสุทธิ์ (สว่าง, ประเสริฐ) ไม่มีอะไรมากกว่าการได้ให้สิ่งที่มันเป็นกระทำให้ ความหมายไม่มีอะไรมากกว่าการที่สิ่งที่รวมกันมีการเปลี่ยนแปลงหรือการเกิดใหม่

  โดยการดับอวิชชา โดยอาศัยความรู้ที่เกิดขึ้น โดยการดับความกระหาย ไม่มีอะไรมากไปกว่าการเปลี่ยนแปลง ไม่มีการเกิด 

  จะเป็นอย่างนี้เสมอเมื่อพวกเราได้เห็นความจริงตามธรรมดาในความคิดที่เป็นทัศนะของเราที่จะกลายเป็นเมฆหมอกมลทินเพราะว่าการจินตนาการล่วงหน้าของคนเรา  ความละโมบและความวิบัติความปรารถนาและความไม่ปรารถนาของเราพวกเราจมอยู่กับคิดจินตนาการที่เกิดทางอายตนะภายในและภายนอกเวทนาที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆเป็นภาพลวงตาและมายาอวัยวะที่รับความรู้สึกทำให้เกิดภาพลวงตาและทำให้เห็นผิดจากความเป็นจริงและพวกเราตกอยู่ในภาวะแค่การมองเห็นผิดจากความจริง  ดังนั้นการเห็นของเราจึงเป็นการเห็นนอกทาง (วิปริตะทัสสนะ)

  พระพุทธเจ้าได้ตรัสถึงมายา๓ชนิด (วิปัลลาส , วิปาริยาส) ความติดใจของมนุษย์กล่าวคือมายาในสิ่งที่เราเห็นการจินตนาการทัศนคติ  เมื่อบุคคลยึดติดอยู่ในภาพมายาเหล่านี้เขาก็จะเข้าใจและจะมองเห็นได้อย่างถูกต้อง

  ก.เขามองเห็นความมั่นคงในความไม่มั่นคง

  ข.ความตั้งอยู่ได้ใสนความไม่สามารถคงทนอยู่ได้ (สภาพและความสุขในความทุกข์)

  ค.ไม่มีตัวตนในตน (วิญญาณในสภาวะไร้วิญญาณ)

  ง.ความงามในความเสื่อมไป

  เขาคิดและแสดงในอาการทีผิดพลาดเหมือนๆกันมายแต่ละอย่างทำหน้าที่ใน๔ทางและนำให้บุคคลหลงทางมีมลทินและเรื่องสับสนนี้เนื่องด้วยปฏิกิริยาความไม่ไตร่ตรองให้รอบคอบ (อโยนิโสมนสิการ) สัมมาทิฏฐิเพียงอย่างเดียวขับเคลื่อนมายาเหล่านี้และช่วยให้บุคคลตระหนักถึงธรรมชาติที่เป็นความจริงว่าเป็นสิ่งที่เน้นความสำคัญของสิ่งที่ปรากฏมันเป็นเพียงเมื่อบุคคลออกมาจากเมฆหมอกแห่งมายาและความวิปริตเขาจะพบกับแสงสว่างกับอิสระภาพที่แท้จริงที่เป็นเหมือนพระจันทร์ที่เต็มดวงมีปัญญาหลักแหลมหลังจากที่จมอยู่ในเมฆหมอก

  พระพุทธเจ้าได้มอบอิสระภาพที่สมบูรณ์สู่ผู้มีความสงสัยและถามข้อสงสัยและคำถามว่าอะไรเป็นความสงสัยและสิ่งที่เป็นคำถามเพื่อความไม่มีความลับในการสอน  ในคำสอนนั้นพระสาวกเป็นผู้ปฏิบัติและดำเนินตามตถาคตและจะได้รับความสว่างและไม่เป็นสิ่งที่ซ่อนเร้นอีกต่อไปขณะที่พระสาวกที่ไม่ปฏิบัติตามคำสอนเป็นคำตรัสบอกที่พระพุทธเจ้าได้ชี้ให้เห็นปัญหาและจะเป็นสิ่งที่พระสาวกจะต้องไปให้ถึงจุดหมาย

  พระมหากัจจายนะมีตัวอย่างและวิถีทางที่พระพุทธเจ้าได้ตรัสบอก

อาวุโส  .. สัมมาทิฏฐิคืออะไร? สัมมาทิฏฐิเป็นอย่างไร? ในโลกนี้มีส่วนประกอบมากที่สุดที่มีความเกี่ยวพันกัน๒ส่วน  คือความดำรงอยู่กับความไม่ดำรงอยู่  ความเป็นอมตะกับภาวะที่ถูกทำลายล้างขณะที่ผู้ซึ่งมีอิสระภาพที่สมบูรณ์ได้มองเห็นการเกิดขึ้นของโลกที่มันเป็นคือไม่ยึดถือรวมทั้งทัศนะวิสัยที่เรามองเห็นอยู่

  โลกนี้มีส่วนประกอบมากที่สุด  ความยึดมั่นในความทะยานอยากและอนุสัยที่ยึดเป็นโซ่ตรวนความปรารถนาเป็นตัวกรรม  พระอริยะผู้ประเสริฐได้เปิดเผยความติดยึดและความอยากที่เป็นอนุสัยเหมือนโซ่ตรวนจนคิดว่านี้แหละคือตัวเรา (วิญญาณ)

  สิ่งที่เกิดขึ้นเป็นเพียงความทุกข์ (มาจากขันธ์๕ที่เป็นยางเหนียว) และจะดับได้เมื่อเรารู้ในทุกข์พระอริยสาวกผู้ไม่มีความคิดสงสัยเขาไม่รู้สึกยุ่งยากใจเขาได้รู้แจ้งด้วยตัวเขาเองโดยไม่มีผู้ช่วยเหลือจนถึงขณะนี้นี่เป็นส่วนแห่งสัมมาทิฏฐิ

  ทุกสิ่งทุกอย่างที่มีอยู่นี้คือสิ่งสูงสุดไม่มีความมีอยู่นี้คือสิ่งสูงสุดการที่จะหลีกเลี่ยงจากส่วนสุดทั้งสองพระองค์ได้สอนธรรมสายกลางไม่ติดอยู่ในความโง่เขลามีความมุ่งมั่นพากเพียรดังนั้นความทุกข์ในอวิชชาทั้งมวลสามารถดับได้อย่างสมบูรณ์  ความพากเพียรที่จะหยุดความทะยานอยากจึงเข้าสู่ความดับทุกข์ทั้งมวล

  ถึงตอนนี้จะเริ่มมีความชัดเจนว่าการมีชีวิตอยู่ในโลกนี้โดยเห็นว่าโลกนี้มีผู้หญิงผู้ชายหรือปัจเจกชนซึ่งไม่มีอะไรที่คงที่นอกจากการเคลื่อนไหวความมีอยู่ในความคงที่และสิ่งอื่นๆที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตอนนี้เมื่อได้เห็นชีวิตและแสงสว่างส่องทางชีวิต  เข้าใจอย่างถ่องแท้ว่าสิ่งที่ดำรงอยู่มีความสืบทอดกันเป็นปัจจัยการประชุมกันของธาตุต่างๆ  เขาจะเริ่มเข้าใจอย่างที่มันเป็น

  เขาไม่ยึดถือในทัศนะที่ผิดในความเชื่อส่วนบุคคลเชื่อในวิญญาณหรือตัวตน (สักกายทิฏฐิ) เพราะว่าเขารู้เรื่องสัมมาทิฏฐิว่าความดำรงอยู่โดยปรสาทสัมผัสซึ่งขึ้นอยู่กับสาเหตุ (ปฏิจจสมุปบาท) แต่ละสภาวะที่เกิดมีบางสิ่งบางอย่างอีก  และเป็นความดำรงอยู่ทีสัมผัสกับสภาวะเขารู้ว่าผลลัพธ์ไม่มีตัวเราไม่ยืนยันว่ามีตัวตนในจิตใจในตนของชีวิตเพราะฉะนั้นเขามีอิสระจากความคิดวิญญาณในโลกเล็กๆ (ชีวาตมัน) หรือวิญญาณในโลกกว่าง (ปรมาตมัน)

  ด้วยเหตุนี้การรู้แจ้งของอริยสัจ๔เหมือนพระอาทิตย์ขึ้นจนเข้าถึงความเข้าใจอย่างสมบูรณ์ผู้เจาะผ่านสมบูรณ์ในขันธ์  ๕ได้ทะลุผ่านการมองเห็นขันธ์ว่าไม่คงที่และปราศจากตัวตน  ด้วยเหตุนี้การย้ำเตือนของพระพุทธเจ้าที่หมั่นเตือนพระภกษุให้เข้าใจเรื่องการวิเคราะห์ที่เรียกการสร้างการดำรงอยู่  โดยขันธ์

  มีตัวอย่างมากมายที่พระสาวกจระรับการช่วยให้ติตพบกับความจริบงของธรรมชาติของขันธ์ที่ถูกบันทึกในบทสวดมนต์ทำวัตรเช้า  สำหรับตัวอย่างที่เป็นสภาพอารมณ์โดยสังเขปอย่างตัวอย่างในบทกลอนนี้

  การใคร่ครวญในสิ่งที่มันเป็น

  การขึ้นไปและการตกลงของขันธ์

  เราได้พบความสว่างในใจที่เป็นอิสระจากมลทิน

  จึงเป็นความสำเร็จในคำสอนของพระพุทธเจ้า

  นามขันธ์และการดำรงอยู่เป็นเหตุให้เกิดผลขณะที่พวกเรามองดูจากด้านบนผ่านทะลุสิ่งที่ไม่น่าเชื่อในฉับพลันของการเกิดขึ้น, การมีอยู่, การดับ (อัปปนาฐิติภังคะ) เป็นการเคลื่อนที่ไม่มีขอบเขตของทะเลหรือที่กว้างใหญ่ที่พัดผ่านเอาทุกสิ่งให้จมลงสู่สุดยอดแห่งมหาสมุทร

  อันที่จริงชีวิตมนุษยืมีการเปรียบได้กับภูเขาที่เป้นแนวยาวมีการไหลและวุ่นวายอยู่ในกระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้ง

  ด้วยเหตุนี้ผลรวมของคำสอนที่จะเปลี่ยนแปลงความคิดในพุทธศาสนาเป็นส่วนประกอบทั้งหมดที่มีเงื่อนไขแห่งการดำรงอยู่ที่เป้นกระบวนการและไม่เป็นกลุ่มที่จะยึดถือตลอดไปได้แต่การเปลี่ยนแปลงก็เกิดดับเร็วเป็นลำดับผู้คนเห็นว่าใจและร่างกายเป็นสิ่งที่เป็นตัวตนคงที่เขาไม่เห็นการอุบัติขึ้นของสิ่งเหล่านั้นและการแตกทำลายไปแต่เป้นความเห็นที่คิดว่าสังขารมีลักษณะอย่างเดียวเขาเห็นสิ่งทั้งหมดเป็นกลุ่มก้อน (ฆนสัญญา)

  ผู้บำเพ็ญเหล่านั้นและพราหมณ์ผู้ซึ่งมีความเห็นในแนวทางที่แตกต่างกันไม่คิดว่าขันธ์๕เกาะตัวกันหรือรูปนามที่แยกกัน

  ในกรณีนี้โดยธรรมชาติของมนุษย์ได้พิจารณาร่างกายและตัวตนว่าตนได้ครอบครองร่างกายและรวมในตนเองตนเองรวมอยู่ในร่างกายมีความรู้สึกในทำนองเดียวกันการมองเห็นและไม่ทิ้งความคิดอย่างนั้น 

  มันเป็นการยากจริงๆมี่ผู้คนเคยชินในความคิดจนเป็นนิสัยทั้งร่างกายและจิตใจภายนอกกับการเดินทางของจิตเป็นการแยกจากกันไม่ได้ที่จะได้ประสบการณ์ผิดของทั้งหมดตราบใดที่บุคคลเห็นผิดในกระบวนการการเคลื่อนไหวเขาจะไม่เข้าใจคำว่าอนัตตา  คำสอนของพระพุทธเจ้านี้คือว่าทำไมบุคคลคนที่หยาบคายและตั้งคำถามอย่างไม่เหมาะสมจึงเป็นอย่างนั้นถ้าไม่มีบุคคลที่ยืนกรานสิ่งที่มีตัวตนไม่มีหลักการที่เปลี่ยนแปลงมีตัวตนหรือวิญญาณ (อาตมัน) อะไรเป็นประสบการณ์ผลลัพธ์ของการกระทำในโลกนี้และโลกหน้า

  คำอธิบายที่แตกต่างได้เป็นประเด็นที่ร้อนแรงพระพุทธเจ้าได้อธิบายในข้อปลีกย่อยในธรรมชาติที่จางหายไปของขันธ์๕อย่างไรที่เขามีความว่างเปล่าในตนและมานะทิฏฐิในใจของตน

  การดำรงอยู่เพื่อความดับและก็เกิดขึ้นนความคิดของนักบวชวัตถุร่างกายไม่ใช่ตัวตนความรู้สึกไม่ใช่ตนการมองเห็นไม่ใช่ตนความคิดไม่ใช่ตนวิญญาณไม่ตนดังนั้นอะไรที่ไม่ใช่ตนอะไรที่เป็นตนเป็นผลกระทบด้านอารมณ์ความรู้สึก

  พระพุทธเจ้าทรงรู้ถึงวาระจิตของพระสาวกความคิดในเรื่องรูปขันธ์ไม่คงที่ไม่น่าพอใจและไม่ใช่ตัวตน

  มันเป็นการผิดพลาดที่จะกล่าวว่าการกระทำเป็นประสบการณ์อย่างหนึ่งที่มีผลเป็นความผิดพอๆกันที่จะกล่าวว่าผู้กระทำและผู้ซึ่งมีประสบการณ์อย่างหนึ่งจะเป็นผลลัพธ์ให้บุคคลแตกต่างกันเหตุผลธรรมดาที่ว่าอะไรที่พวกเราเรียกว่าชีวิตพวกเราได้เห็นก่อนแล้วว่ามันได้ไหลไปตามภาวะของกฎแห่งสังขารและกระบวนการทางจิตหรือพลังงานที่เกิดขึ้นและการดับไปและมันเป็นได้ที่จะกล่าวว่าผู้กระทำได้รับผลของตนเองเนื่องจากว่าเขากำลังมีความเสื่อมไปในทุกขณะของชีวิตมันคือการดำเนินต่อไปโดยปราศจากช่องว่างเด็กๆก็จะไม่เหมือนวัยรุ่นวัยรุ่นก็จะไม่เหมือนผู้ใหญ่เขาทั้งไม่เหมือนกันหรือแตกต่างกันมีเพียงร่างกายและกระบวนการทางจิต

  ดังนั้นโบราณาจารย์จึงกล่าวว่า

  ไม่มีผู้กระทำอย่างแท้จริง

  ไม่มีใครซึ่งเป็นผู้รับผล

  มีแต่ปรากฏการณ์ที่ว่างเปล่าเกิดขึ้น

  อะไรเป็นความหมาย? คำคามก็คือไม่มีอะไรที่แน่นอนในตัวเราใจของเราในร่างกายนี้ตัวตนหรือวิญญาณนี้หรือกระบวนการทางจิตที่มีแต่การรับรู้ความรู้สึกและประสบการณ์อื่นๆแต่ไม่เปลี่ยนแปลงไปถึงที่สุดของตัวตนและวิญญาณภายหลังการตาย

  ประวัติผู้รวบรวมเรียบเรียงเขียน

ชื่อสกุล  นายธีรวัส บำเพ็ญบุญบารมี

 

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท