ระบบและกลไกในการประเมินการปฏิบัติราชการของข้าราชการและพนักงาน สังกัดคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (4)


กรอบระยะเวลาในการประเมินที่มหาวิทยาลัยกำหนดแสดงดังรูปด้านล่างครับ 




ผมคิดว่าภาพที่ผมวาดนี้ ดูแล้วเข้าใจได้ไม่ยาก จึงไม่ขอเขียนอธิบายอะไรทั้งนั้นนะครับ เพื่อนอาจารย์ที่เข้ามาอ่านเจอ หากไม่เข้าใจจริงๆ  เจอผมที่ไหนถามได้ที่นั่นครับ 

หมายเลขบันทึก: 508313เขียนเมื่อ 11 พฤศจิกายน 2012 00:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 ธันวาคม 2012 13:20 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลงจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

I wonder where "the follow-up or the review of the tasks performed (by independent reviewers) is in the chart.

It seems to me the system and procedures is very much a "paper-based" assessment -- no verification of "what on the paper" or actual results.

Our government and public services have been using "paper-based" assessment models for a long time. We see a lot of work on paper but we have yet to see people benefit from such work -- in most cases.

I think we can do more with a "flipped" review process:

first - planning the result (to achieve)
then - measuring the result actually achieved

the measurement (pro rata or normalized by a standardized unit) should determine the "rank" of all participants in a known, open and accountable manner (no closed door meetings by closed mind committees).

ขอบคุณ คุณ sr มากครับ ผม "เห็น" ในประเด็นนั้นเหมือนกันครับ แม้ว่าตอนต่อๆ ไป ผมจะนำเกณฑ์มาลงให้ดูอย่างละเอียด แต่ก็ยังไม่ตอบโจทย์ทีท่านว่า เพราะปัจจุบันเราทำงานอิงเกณฑ์ประกันคุณภาพการศึกษาของ สมศ. และ สกอ. ที่เกณฑ์หลายตัวตั้งอยู่บนสมมติฐาน และส่วนใหญ่ยังอยู่ "เหตุการณ์" (ได้ทำไหม?) และ "ปริมาณ" (ทำตามจำนวนที่กำหนดหรือเปล่า) ยังไม่ได้พูดถึงเรื่อง "คุณภาพ" ของงานเท่าใดนัก

เห็นด้วยกับท่านอย่างยิ่งครับ..... ผมกำลังเดินทาง หากมีโอกาส ผมจะพัฒนาไปให้ถึงสิ่งที่ผมเรียกว่า "บริหารแบบมององค์รวม"

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท