การวางแผนการศึกษาไทย หากขาดปรัชญาก็ไร้ทิศทาง


 

         ในการเข้ารับการอบรมนักบริหารระดับสูงกระทรวงศึกษาธิการได้ฟังการบรรยายเรื่องการวางแผนการศึกษาของประเทศไทย โดย ศาสตราจารย์ ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ นักวิชาการอาวุโส ซึ่ง ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ ให้ทัศนะว่าการศึกษาของเรายังหลงทางเพราะห่างจากความลึกซึ้งของปรัชญาที่นักบริหารและผู้ปฏิบัติการศึกษาน่าจะทบทวนดูให้ดี มีหลักการรากฐานความคิดที่ได้เสนอดังนี้ เพื่อที่จะไปออกแบบการวางแผนการศึกษาประเทศไทยกันต่อไป

 

1.1 Philosophy Based education

1.1.1 ทำให้รากการคิดดีขึ้นให้ได้

1.2 Competency based education

1.2.1 อะไรที่วัดไม่ได้จะบริหารไม่ได่้

1.3 Economic based education

1.3.1 มนุษย์เป็นสัตว์เศรษฐกิจ

1.3.2 การศึกษาที่ไม่สนองต่อมิติสำคัญทางเศรษฐกิจจะไม่สมบูรณ์

ไม่ตรงความต้องการของตลาด

ช่วงชั้นไหนก็เข่าสู่ระบบเศรษฐกิจได้

เรากำลังหลงทาง

ค่านิยมแบบelite คือคิดว่าจบปริญญาดีกว่าอาชีวะ

1.3.3 มิติเศรษฐกิจต้องคิดทางเศรษฐกิจเป็น

1.4 Globalized education

1.4.1 การปิดประเทศไม่มีประเทศใดเจริญ

1.4.2 ประเทศเจริญคือรู้จักเอาสิ่งดีๆจากประเทศอื่นมาใช้

1.4.3 รัชกาลที่5 เปิดประเทศเอาสิ่งดีๆจากประเทศอื่นมา เพื่อต่อสู้กับการล่าอมณานิคม

1.4.4 ปัจจุบันเปิดประเทศเพื่อต่อสู้กับ globalization

1.4.5 ทำอย่างไรให้เด็กไทยเก่งภาษาอังกฤษ และภาษาที่สามอื่นๆอีก 1 ภาษาเลือกจาก

มหาอำนาจเศรษกิจเก่า

ญี่ปุ่น

เยอรมัน

ฝรั่งเศส

มหาอำนาจเศรษฐกิจใหม่

เราเป็นประเทศเล็กต้องเกาะชายผ้าเหลืองของมหาอำนาจให้ได้ ต้องวางตัวเป็น

จีน

อันดับสองของโลก

อินเดีย

ประชากรมาก มีคนชั้นกลาง300กว่าล้านคน

รัสเซีย

รัชกาลที่5 เราไม่เสียประเทศให้อังกฤษ เพราะเป็นมหามิตรกับรัสเซีย

บราซิล

มหาอำนาจเศรษฐกิจอนาคต

เตอรกี

1.5 Politics based education

    ให้การศึกษาตั้งแต่เด็กให้เข้าใจการเมือง วิเคราะห์การเมืองได้

1.6 Technology based education

1.6.1 ใช้เครื่องมือนี้อย่างถูกวิธี

1.6.2 ถ่ายทำวิชาครูสอนสุดยอดมาแบ่งกันใช้

1.6.3 อะไรก็ตามที่ทำให้มนุษย์เป็นอภิมนุษย์เป็นเทคโนโลยี ให้ใช้เต็มที่

1.7 Integration based education

      365 24 เวลา365 วัน 24 ชั่วโมง จะใส่อย่างไรให้เด็กมีพลังอันยิ่งใหญ่

      เกิดกระบวนการเรียนรู้โลกทั้งระบบ

      บวร

      ค ร บ คริสต์จักรโรงเรียนบ้าน

     ม ร บ. มัสยิสต์โรงเรียนบ้าน

1.8 Human based education

1.8.1 กศ.แท้จริงต้องสร้างศักยภาพมนุษย์

1.8.2 ต้องสร้างศักยภายยิ่งใหญ่ให้อยู่แนวหน้า

1.9 Culture based education

 

 
คำสำคัญ (Tags): #ปรัชญาการศึกษา
หมายเลขบันทึก: 500519เขียนเมื่อ 29 สิงหาคม 2012 09:06 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2012 22:51 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (16)

ประเทศไทยพัฒนา ด้วยการศึกษาตลอดชีวิต

การที่ "การศึกษาของเรายังหลงทาง" ส่วนหนึ่งเป็นเพราะผู้นำบางคนที่มองว่า หากประชาชนมีความรู้มากๆ จะทำให้การบริหาร (การพยายามให้ได้สิ่งที่ต้องการ) เป็นเรื่องที่ยากมากขึ้นหรือเปล่าคะ????

ถ้านำมาใช้จะเกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคมได้มาก

น่าสนใจ น่าเรื่อรู้เพิ่มอีกครับ

คุณ poon ครับ นั่นเป็นความคิดเดิมๆที่ถูกสอนมาในวิชาการปกครองเก่าๆ ที่ว่าคนโง่ปกครองง่าย. แต่เดี๋ยวนี้คงใช้ไม่ได้แล้วครับในยุคไร้พรมแดน

ประเทศเจริญคือรู้จักเอาสิ่งดีๆจากประเทศอื่นมาใช้

เห็นด้วยกับผอ.ค่ะ แต่แปลกนะคะ..ความคิดเดิมๆที่ถูกสอนมาในวิชาการปกครองเก่าๆ กลับฝั่งรากลึกยากถอนออกจากความคิดของเหล่าผู้นำบางคนในยุคไร้พรมแดนนี้ น่าคิดนะคะว่ามีวิธีสอนแบบไหน????

ขอบคุณทุกท่านครับที่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ดอกไม้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท