อนาคตเศรษฐกิจไทยบันทึกไว้ให้เรียนรู้


 

             ได้เข้ารับการอบรมหลักสูตร นศส.ศธ  หัวข้อหนึ่งซึ่งได้สรุปจากการฟังบรรยายที่มีความหมายควรรับรู้ไว้ในเรื่องอนาคตเศรษฐกิจไทย ได้สรุปสาระสำคัญไว้ดังนี้

 

    

    

อนาคตเศรษฐกิจไทยในสาระสำคัญ

1 บริบททางเศรษฐกิจในอนาคต

1.1 บทบาทของจีน และเอเซียสูงขึ้น

1.2 การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเข้มแข็งขึ้น

1.3 ความผันผวน ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจสูง จากโลกาภิวัฒน์ดีมานด์ซัพพลายของสินค้า เปลี่ยนไปตาม

1.3.1 global warming

1.3.2 global awareness

1.3.3 energy availability

1.3.4 technology

1.3.5 etc

1.4 ประชากรสูงวัยมากขึ้น

2 เศรษฐกิจไทยระยะสั้นมีความแข็งแกร่ง

2.1 ผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกเป็นเพียงผลทางอ้อม และสามารถฟื้นตัวได้รวดเร็ว

2.2 ภาวะเศรษฐกิจเดือนเม.ย. 54 ขยายตัวในอัตราชะลอลงบ้าง จากภัยพิบัติในญี่ปุ่น แต่ปัจจียสนับสนุนยังอยู่ในเกณฑ์ดี

2.2.1 รายได้เกษตรกรดี

2.2.2 ว่างงานต่ำ

2.2.3 รัฐบาลยังคงมีบทบาทในการกระตุ้นเศรษฐกิจ

2.2.4 สินเชื่อยังขยายตัวต่อเนื่อง

2.2.5 การส่งออกยังขยายตัวสูง(27%)

2.2.6 การท่องเที่ยวขยายตัวสูง

2.3 คาดว่าเศรษฐกิจขยายตัว 4.1% ในปี 54

3 ปัจจัยที่ต้องระวัง

3.1 ภาวะเงินเฟ้อ (คาดการณ์ 3.9% ในปี 54)

3.2 เงินไหลเข้า ค่าเงินผันผวน/แข็ง ฟองสบู่

3.3 ผลกระทบจากการเมือง

4 แต่มีปัญหาเชิงโครงสร้างระยะยาว

4.1 ความสามารถในการแข่งขันของคนไทย

4.1.1 โครงสร้างพื้นฐานเป็นข้อจำกัด ในการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันของไทย

ปี 53 อยู่อันดับ 46 .ใน 55 ประเทศ

ของไทยต่ำส่งผลให้ประสิทธิภาพด้าน Logistics ต่ำเมื่อเทียบกับต่างประเทศ

4.2 โครงสร้างประชากรไทยและปัญหาการขาดแคลนแรงงาน

4.2.1 ไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ กำลังแรงงานจะลดลง

4.2.2 ปัญหาขาดแคลนแรงงานจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต

4.3 การลงทุนภาครัฐ:ระดับและประสิทธิภาพ

4.3.1 ด้านสาธารณูปโภคต้องใช้เงินลงทุนอีกจำนวนมาก

4.3.2 ในช่วงที่ผ่านมารายจ่ายเพิ่มขึ้นกว่ารายได้ที่เพิ่มขึ้น

4.3.3 ภาระผูกพันสูงเป็นข้อจำกัดทำให้งบลงทุนน้อยลง

4.3.4 ด้านรายได้ยังมีโอกาสเพิ่มได้จากการปฏิรูปภาษี

4.3.5 ประเมินประสิทธิภาพ กรณีตัวอย่างการใช้จ่าย

ด้านการศึกษา

ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมาก

รายจ่ายด้านกศ.ของไทย ไม่ต่างจากค่าเฉลี่ยในกลุ่มมากนัก แต่จำนวนคนที่เข้าเรียนในระดับมัธยม ยังน้อยกว่าหลายประเทศ

คุณภาพการศึกษาไทยค่อนข้างค่ำ

ด้านสาธารณสุข

รายจ่ายไม่แตกต่างจากค่าเฉลี่ยกลุ่ม แต่คุณภาพยังต้องกากาการพัฒนา

การใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคมที่ผ่านมา ยังเข้าถึงกลุ่มคนจนค่อนข้่างน้อย

5 โครงสร้างพื้นฐานเป็นข้อจำกัด ในการพัฒนาขีดความสามารถ ในการแข่งขันของไทย

5.1 ปี 53 อยู่อันดับ 46 .ใน 55 ประเทศ

5.2 ของไทยต่ำส่งผลให้ประสิทธิภาพด้าน Logistics ต่ำเมื่อเทียบกับต่างประเทศ

6 โครงสร้างประชากรไทยและปัญหาการขาดแคลนแรงงาน

6.1 ไทยกำลังก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ กำลังแรงงานจะลดลง

6.2 ปัญหาขาดแคลนแรงงานจะทวีความรุนแรงมากขึ้นในอนาคต

7 การลงทถนภาครัฐ:ระดับและประสิทธิภาพ

7.1 ด้านสาธารณูปโภคต้องใช้เงินลงทุนอีกจำนวนมาก

7.2 ในช่วงที่ผ่านมารายจ่ายเพิ่มขึ้นกว่ารายได้ที่เพิ่มขึ้น

7.3 ภาระผูกพันสูงเป็นข้อจำกัดทำให้งบลงทุนน้อยลง

7.4 ด้านรายได้ยังมีโอกาสเพิ่มได้จากการปฏิรูปภาษี

7.5 ประเมินประสิทธิภาพ กรณีตัวอย่างการใช้จ่าย

7.5.1 ด้านการศึกษา

ค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมาก

รายจ่ายด้านกศ.ของไทย ไม่ต่างจากค่าเฉลี่ยในกลุ่มมากนัก แต่จำนวนคนที่เข้าเรียนในระดับมัธยม ยังน้อยกว่าหลายประเทศ

คุณภาพการศึกษาไทยค่อนข้างค่ำ

7.5.2 ด้านสาธารณสุข

รายจ่ายไม่แตกต่างจากค่าเฉลี่ยกลุ่ม แต่คุณภาพยังต้องกากาการพัฒนา

การใช้จ่ายด้านสวัสดิการสังคมที่ผ่านมา ยังเข้าถึงกลุ่มคนจนค่อนข้่างน้อย

          

หมายเลขบันทึก: 500507เขียนเมื่อ 29 สิงหาคม 2012 07:51 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2012 22:53 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (11)

หากประชาชนคนไทยน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิต "อนาคตเศรษฐกิจไทย" จะมีความเข้มแข็งกว่านี้แน่นอนค่ะ

เป็นกำลังใจให้ประเทศไทยเดินหน้าต่อไปค่ะ

ผมว่าเรายังขาดผู้นำตามรูปแบบนี้ครับ

น่ารับการอบรมด้วยจังครับ

ในอนาคตประเทศไทยจะมีผู้นำที่สามารถนำพาเราไปสู่ข้อความข้างบนไหมนะ

ขอบคุณมากค่ะ เป็นประโยชน์มากเลยค่ะ

ขอบคุณทุกท่านครับที่มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และให้ดอกไม้

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท