จิ๊บ พัชรี
นักศึกษากิจกรรมบำบัด พัชรี รุ่งฉัตร

โรคเกาต์ ( gout )


โรคเกาต์,gout,occupation therapy

โรคเกาต์(gout)


ลักษณะทั่วไปของโรค

  • โรคเกาต์เป็นโรคข้ออักเสบเรื้อรัง ผิดปกติทางพันธุกรรม
  • พบในชายอายุ 30 ขึ้นไป     พบในหญิงเล็กน้อยหรือหลังหมดประจำเดือน
  • รายที่เรื้อรังการเกาะของเกลือ monosodium urate จะทำให้เกิดก้อนที่เรียกว่า Tophi นอกจากนั้นยังทำให้หน้าที่ของไตเสื่อมและเกิดโรคนิ่วที่ไตด้วย
  • รักษาให้หายได้ แต่ถ้าไม่ได้รับการรักษา อาจมีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายได้

สาเหตุของโรค

เกิดจากร่างกายมีกรดยูริก (uric acid) สะสมมากเกินไป การตกตะกอนของ กรดยูริก หรือ  ความผิดปกติทางพันธุกรรม

อาการของโรค

มีอาการปวดข้อรุนแรง ซึ่งเกิดขึ้นฉับพลันทันที ถ้าเป็นการปวดครั้งแรกมักจะเป็นเพียงข้อเดียว ข้อจะบวมและเจ็บมากจนเดินไม่ไหว ผิวหนังในบริเวณนั้นจะตึง ร้อนและแดงและจะพบลักษณะจำเพาะ คือ ขณะที่อาการเริ่มทุเลาผิวหนังในบริเวณที่ปวดนั้นจะลอกและคัน

บทบาทของนักกิจกรรมบำบัด

1. ประเมิน  คุณภาพชีวิต และ ความสามารถในการดำเนินชีวิต

2. วางแผนการรักษา

3. ทำการรักษา

4. ประเมินซ้ำ

กรอบอ้างอิง ที่Occupational therapyใช้

 Domain & Process

-Performance skills (ทักษะความสามารถ)
-Context and Environment (บริบท และสิ่งแวดล้อม)

 

ICF

-Activity limitations (ข้อจำกัดในการทำกิจกรรม)

Activity Participation (การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม)

ขอขอบคุณ คุณจุฑามาศ  ยิ่งยง สำหรับข้อมูลดีๆนะคะ


หมายเลขบันทึก: 478956เขียนเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2012 22:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 มกราคม 2014 22:13 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท