แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาภาษาไทย ๒ ท ๓๑๑๐๒ ม. ๔


แผยแพร่

 

แผนการจัดการเรียนรู้ 

รายวิชา   

 

 

รหัสวิชา

 

  ระดับชั้น.มัธยมศึกษาปีที่ ๔

 ภาคเรียนที่  ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔

 

สอนโดย

 

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย

โรงเรียนสตรีทุ่งสง

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต ๑๒

 

 

                                    บันทึกข้อความ

ส่วนราชการ  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย

ที่  ...................................                                                     

 วันที่   ..............................

เรื่อง   ขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้

 

เรียน   ผู้อำนวยการโรงเรียนสตรีทุ่งสง

 

        ด้วยข้าพเจ้า.นายสมเกียรติ  คำแหง  ตำแหน่ง.ครู ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้

วิชา.ภาษาไทย ๒ ระดับชั้น. ม. ๔  ภาคเรียนที่  ๒ ปีการศึกษา.๒๕๕๔  จำนวน. ๒ คาบ / สัปดาห์ จำนวน ๑ หน่วยการเรียน

       

ดังนั้นจึงใคร่ขออนุมัติใช้แผนการจัดการเรียนรู้ดังกล่าว  ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 

 

        จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

 

ลงชื่อ

                                                          

 

 ( นางอุไร  ช่วยเจริญ )

                              กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย

 

 

 

 

 

บันทึกการส่งแผนการจัดการเรียนรู้  ครั้งที่ 1

 

ความคิดเห็น

ความคิดเห็น

ความคิดเห็น

 

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

 

 

 

ลงชื่อ

 

  ( นางอุไร  ช่วยเจริญ)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

…...../…/……

 

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

 

 

 

ลงชื่อ

    

 ( นายณัฐวุฒิ   รัตนอรุณ )

รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

…...../………/………

 

 

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

 

 

 

ลงชื่อ

     

   ( นายปรีชา   แร่ทอง)

ผู้อำนวยการ

…...../………/………

 

 

 

 

 

 

บันทึกการส่งแผนการจัดการเรียนรู้  ครั้งที่ 2

 

ความคิดเห็น

ความคิดเห็น

ความคิดเห็น

 

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

 

 

 

ลงชื่อ

    ( นางอุไร  ช่วยเจริญ)

หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้

…...../…/……

 

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

 

 

 

ลงชื่อ

      ( นายณัฐวุฒิ   รัตนอรุณ )

รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ

…...../………/………

 

 

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

................................................

 

 

 

ลงชื่อ

        ( นายปรีชา   แร่ทอง)

ผู้อำนวยการ

…...../………/………

 

 


การวัดและประเมินผลสาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

รหัสวิชา ท ๓๑๑๐๒  รายวิชา  ภาษาไทย ๒  คะแนนตลอดภาค  ๑๐๐

สัดส่วนคะแนนระหว่างภาค /ปลายภาค  = ๖๐/๔๐

 

ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้

 

 

 

 

พฤติกรรมที่วัด KPA

เครื่องมือวัดและประเมินผล

ช่วงเวลาที่ประเมิน

 

คะแนนระหว่างภาค

 

 

คะแนนปลายภาค

คะแนนรวม

ช่วงที่ ๑

กลางภาค

ช่วงที่ ๒

K

P

A

K

P

A

๑.สามารถอธิบายลักษณะสำคัญบางประการของภาษาไทยโดยนำไปใช้สื่อความหมายได้ถูกต้อง

 

 

 

๑-๔

 

 

๑๐

 

 

 

 

 

๒. สามารถใช้คำกลุ่มคำสำนวนและร้อยเรียงเป็นประโยคได้ อย่างเหมาะสม

 

 

 

๕-๑๐

๑๐

 

 

 

 

๓.เขียนบทร้อยกรองประเภทร่ายยาวได้

 

 

 

๑๑๑๒

-

 

 

 

 

 

๔. สามารถอ่านเรื่องสั้นและร่ายได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ

 

 

 

๑๓

๑๔

 

 

 

 

 

 

 

๕. สามารถอ่านบันเทิงคดีประเภทนิทาน นำมาวิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เสนอแนวคิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

 

 

๑๕

๒๐

 

 

 

 

 

๖. สามารถเขียนโครงการและรายงานการดำเนินโครงการ

 

 

 

๒๑-๒๔

 

 

 

 

 

 

๗. สามารถเขียนย่อความจากสื่อต่างๆได้

 

 

 

๒๕-๒๖

 

 

 

 

 

 

 

๘. สามารถเขียนรายงานเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงได้ถูกต้อง

 

 

๒๗-๓๐

 

 

 

 

 

 

 

๕+๕

 

๙. สามารถพูดแสดงทัศนะและพูดโน้มน้าวใจเสนอแนวคิดด้วยภาษาที่ถูกต้องได้

 

 

๓๑-๓๔

 

 

 

 

 

 

 

๕+๕

 

๑๐.สามารถวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมด้านต่างๆนำไปประยุกต์ใช้

 

 

๓๕-๔๐

 

 

 

 

 

 

 

๕+๕

 

                                                                      

แบบบันทึกการจัดทำหน่วยการเรียนรู้  ท ๓๑๑๐๒

 

ที่

 

ชื่อหน่วย

 

ตัวชี้วัด

 

สาระการเรียนรู้

เวลา

ช.ม.

น้ำหนักคะแนน (ร้อยละ)

แหลงเรียนรู้

สื่อ

 

การบูรณาการ

K

P

A

๑.

ภาษาไทยมีหลัก

๑.๑. อธิบายลักษณะสำคัญบางประการของภาษาไทย

๑.๒.ใช้ภาษาเหมาะสมแก่โอกาส กาล เทศะและบุคคล

๑.๓.เขียนบทร้อยกรอง

๑.สามารถอธิบายลักษณะสำคัญบางประการของภาษาไทยโดยนำไปใช้สื่อความหมายได้ถูกต้อง

๒. สามารถใช้คำกลุ่มคำสำนวนและร้อยเรียงเป็นประโยคได้ อย่างเหมาะสม

๓.เขียนบทร้อยกรองประเภทรายยาวได้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หนังสือเรียน

วารสาร สิ่งพิมพ์

ใบความรู้

ใบงาน

 

 

๒.

รักการอ่าน

๒.๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้องไพเราะและเหมาะสม

๒.๒. อ่านแปลความ ตีความและและขยายความโดยวิเคราะห์วิจารณ์อย่างมีเหตุผล

๒.๓. วิเคราะห์วิจารณ์แสดงความคิดเห็นเสนอแนว

๔. สามารถอ่านเรื่องสั้นและโคลงสี่ได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ

๕. สามารถอ่านบันเทิงคดีประเภทนิทาน นำมาวิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เสนอแนวคิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

 

 

 

 

 

 

๑๓

 

 

 

 

 

 

หนังสือบันเทิงคดี

 

นิทานพื้นบ้าน

วารสาร

หนังสือพิมพ์รายวัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ที่

ชื่อหน่วย

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลา

น้ำหนักคะแนน(ร้อยละ)

แหล่งเรียนรู้

สื่อ

การบูรณาการ

K

P

A

 

 

คิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

 

 

 

 

 

 

 

๓.

สื่อสารงานเขียน

๓.๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆได้ตรงตามวัตถุประสงค์

๓.๒.เขียนเรียงความย่อความที่มีเนื้อหาและรูปแบบหลากหลาย

๓.๓. เขียนรายงานจากการศึกษาค้นคว้า

๖. สามารถเขียนโครงการและรายงานการดำเนินโครงการ

๗. สามารถเขียนย่อความจากสื่อต่างๆได้

๘. สามารถเขียนรายงานเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงได้ถูกต้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เอกสารตัวอย่าง

 

วารสาร

หนังสืออ่านทั่วไป

สื่ออิเล็กทรอนิกส์

 

๔.

ฟัง ดู  พูด อย่างมีวิจารณญาณ

และสร้างสรรค์

๔.๑ พูดในโอกาสต่างๆโดยแสดงทัศนะโต้แย้ง โน้มน้าวใจอย่างเหมาะสม

๙. สามารถพูดแสดงทัศนะและพูดโน้มน้าวใจเสนอแนวคิดด้วยภาษาที่ถูกต้องได้

แผ่นบันทึกเสียง

 

๕.

วรรณคดีมีคุณค่า

๕.๑. วิเคราะห์ลักษณะวรรณคดีและวรรณกรรมที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์และวิถีชีวิต

 

๑๐.สามารถวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมด้านต่างๆนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

๑๕

ใบความรู้

หนังสือวรรณคดี

 

 

 

 

 

 

 

 

                                                                                                                   

ที่

ชื่อหน่วย

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

เวลา

น้ำหนักคะแนน(ร้อยละ)

แหล่งเรียนรู้

สื่อ

การบูรณาการ

 

 

 

 

 

 

๕.๒.  วิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

คำอธิบายรายวิชา

วิชา.ภาษาไทย ๒ รหัส. ท ๓๑๑๐๒จำนวน.  ๒  คาบ/สัปดาห์

จำนวน.๑หน่วยการเรียน ชั้น.  ม. ๔/ ๑ - ๘

 

  ท ๓๑๑๐๒

                       

            ศึกษาภาษาไทยโดยใช้กระบวนการอ่านนำไปสร้างความคิด ตัดสินใจแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิต  มีนิสัยรักการอ่าน สามารถเขียนสื่อสารใน

รูปแบบต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ  เลือกฟังและดูอย่างมีวิจารณญาณ พูดแสดงความรู้ความคิด แสดงความรู้สึกต่างๆอย่างสร้างสรรค์ เข้าใจธรรมชาติของภาษา หลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังของภาษาอันเป็นอันเป็นภูมิปัญญา มีความเข้าใจถึงคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมโดยนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน  ด้วยความภูมิใจในการรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

โครงการสอน

รายวิชา  ภาษาไทย ๒ รหัส. ท ๓๑๑๐๒จำนวน.  ๒  คาบ/สัปดาห์

 

ภาคเรียนที่ ๒  ปีการศึกษา ๒๕๕๔

สัปดาห์ที่

คาบที่

เวลา  (ช.ม.)

สาระการเรียนรู้

๑-๒

๑-๔

๑.สามารถอธิบายลักษณะสำคัญบางประการของภาษาไทยโดยนำไปใช้สื่อความหมายได้ถูกต้อง

๓-

๕-๗

๒. สามารถใช้คำกลุ่มคำสำนวนและร้อยเรียงเป็นประโยคได้ อย่างเหมาะสม

๔-๕

๘-๑๐

๓.เขียนบทร้อยกรองประเภทรายยาวได้

๖-๗

๑๑-๑๔

๔. สามารถอ่านเรื่องสั้นและโคลงสี่ได้อย่างถูกต้อง ไพเราะ

๘-๑๐

๑๕-๒๐

๕. สามารถอ่านบันเทิงคดีประเภทนิทาน นำมาวิเคราะห์วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น เสนอแนวคิดในการนำมาพัฒนาตนเอง

๑๑

๒๑-๒๒

๖. สามารถเขียนโครงการและรายงานการดำเนินโครงการ

๑๒

๒๓-๒๔

๗. สามารถเขียนย่อความจากสื่อต่างๆได้

๑๓-๑๕

๒๕-๓๐

๘. สามารถเขียนรายงานเชิงวิชาการและใช้ข้อมูลสารสนเทศอ้างอิงได้ถูกต้อง

๑๖-๑๗

๓๑-๓๔

๙. สามารถพูดแสดงทัศนะและพูดโน้มน้าวใจเสนอ

   แนวคิดด้วยภาษาที่ถูกต้องได้

๑๘-๒๐

๓๕-๔๐

๑๐.สามารถวิเคราะห์คุณค่าของวรรณคดี วรรณกรรมด้านต่างๆนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

คำสำคัญ (Tags): #การศึกษา
หมายเลขบันทึก: 464822เขียนเมื่อ 15 ตุลาคม 2011 11:59 น. ()แก้ไขเมื่อ 24 มิถุนายน 2012 00:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท