เกษตรกรต้นแบบอำเภอท่าแซะ


เกษตรกรต้นแบบ

การจัดการความรู้จังหวัดชุมพร

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔

ประเด็นยุทธศาสตร์ : พัฒนาระบบการตลาดและสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพ

เกษตรกรต้นแบบ

การรับรองมาตรฐาน GAP

สำนักงานเกษตรอำเภอท่าแซะ จังหวัดชุมพร

ข้อมูลเกษตรกรเจ้าของแปลง 

นายสุรินทร์    จันทร์พุ่ม    อายุ   65 ปี

ที่อยู่   3   หมู่ที่ 12  อำเภอท่าแซะ   จังหวัดชุมพร

หมายเลขบัตรประจำตัวประชาชน    3860200117693   

ชนิดพืชที่ผ่านการรับรอง GAP   ทุเรียน,ลองกอง

ขนาดพื้นที่ปลูก   5  ไร่

 

ประวัติและประสบการณ์ของเกษตรกรในการทำการเกษตรตามระบบส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรปลอกภัยและได้มาตรฐาน GAP

        นายสุรินทร์ จันทร์พุ่ม เป็นเกษตรกรผู้นำด้านการเกษตรของ หมู่ 12 ตำบลท่าแซะ มีประสบการณ์มาประมาณ     ปี และเป็นเกษตรที่ผ่านการใช้สารเคมีทางการเกษตรอย่างหนัก ทำให้ตัวเองเกิดผลกระทบจากการใช้สารเคมี จึงหันมาทำปุ๋ยหมักใช้เอง เพื่อลดต้นทุนการผลิตและทำน้ำหมักชีวภาพและแนะนำให้เกษตรกรข้างเคียงทดลองทำและใช้เองก่อน เห็นว่ามีผลดีจึงแนะนำให้เพื่อนบ้านทำใช้บ้าง เมื่อนายสุรินทร์ จันทร์พุ่ม ได้เข้ารับการอบรมการผลิตพืชตามหลัก GPA และมองเห็นความสำคัญจึงทำการเกษตรระบบ  GPA ตลอดจึงถึงปัจจุบัน ทำให้สุขภาพตัวเองดีขึ้นและสภาพดินในสวนดีขึ้นด้วย        

 

องค์ความรู้ที่เกษตรกรใช้ในการทำการเกษตรตามระบบ GAP

1.แหล่งน้ำ

       เกษตรกรใช้น้ำที่ไม่มีวัตถุอันตรายปนเปื้อนเป็นน้ำสะอาด เช่นน้ำบ่อ   ซึ่งไกลจากโรงงานอุตสาหกรรม 

2.พื้นที่ปลูก

       ไม่มีสารพิษตกค้างในดิน 

3.การใช้วัตถุอันตรายในการทำการเกษตร

ไม่ได้ใช้สารเคมี ถ้าจำเป็นต้องใช้อย่างถูกต้องและปลอดภัยตามฉลากที่กำหนดและเก็บมิดชิด 

 

4.การเก็บรักษาและการขนย้ายผลิตผลภายในแปลง

เก็บผลผลิตที่สุกและมีคุณภาพสะอาดและปลอดภัยภาชนะที่บรรจุและขนย้ายต้องสะอาด 

5.การบันทึกข้อมูล

       มีการจดบันทึกควรจดบันทึกทุกขั้นตอน (แต่เกษตรกรมีการจด          .

บันทึกไม่ทุกขั้นตอน

6.การผลิตให้ปลอดจากศัตรูพืช

ต้องมีการควบคุมคุณภาพการผลิตมีแผนควบคุมการผลิต

7.การจัดการกระบวนการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตคุณภาพ

มีการเก็บผลผลิตที่แก่จัดและได้ขนาดและเก็บถูกวิธีแยกผลเสียออกจากผลดี

8.การเก็บเกี่ยวละปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว

มีการเก็บผลผลิตที่มีคุณภาพตามมาตราฐานกำหนดแยกผลผลิตที่ไม่ได้คุณภาพออกจากกัน

9.หลังได้รับใบรังรองมาตรฐาน GAP มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร

- ลดต้นทุนการผลิตได้โดยใช้สารชีวภาพเพิ่มมากขึ้น                      .

- สุขภาพดีขึ้น                                                                  .                                                                                                                                       

- ดินดีขึ้น                                                                       .

- ราคาผลผลิตไม่เปลี่ยนแปลง

 

10.ระบบ GAP ดีอย่างไรในความรู้สึกของเกษตรกร

ถ้าผลิตพืชตามระบบ GPA ได้สภาพแวดล้อมดี ผลผลิตดีสุขภาพก็ดีด้วย แต่มีขั้นตอนและวิธีการเพิ่มขึ้น

11.ท่านได้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเกษตรกรรายอื่นอย่างไรบ้าง

ให้คำแนะนำแก่เกษตรกรเพื่อนบ้านจำนวนมากแต่มีเกษตรกรปฏิบัติตามน้อย จำนวน 20 ราย และมีเกษตรกรมาดูงานอย่างต่อเนื่อง

 

คำสำคัญ (Tags): #เกษตรกรต้นแบบ
หมายเลขบันทึก: 459202เขียนเมื่อ 7 กันยายน 2011 22:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 20 มิถุนายน 2012 14:31 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท