วิชา นโยบายสาธารณะและการวางแผน


นโยบายสาธารณะ คือกิจกรรมต่าง ๆ ที่รัฐบาลกระทำ
การศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวทางรัฐศาสตร์
1.เป็นการศึกษาเพื่ออธิบายถึงสาเหตุและผลกระทบต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมของรัฐบาล
2.เป็นการศึกษาวิเการศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวทางรัฐศาสตร์คราะห์นโยบายโดยมุ่งเน้นที่ขั้นตอนแรกของกระบวนการนโยบาย คือ การกำหนดนโยบาย
3.ถือว่าการกำหนดนโยบายเป็นกิจกรรมทางการเมืองอย่างหนึ่งที่เกิดขึ้นภายในระบบการเมือง และเป็นเรื่องของฝ่ายการเมือง
¦เป็นการแยกฝ่ายการเมืองกับฝ่ายบริหารออกจากกัน
¦มีนโยบายสาธารณะเป็นตัวเชื่อมโยง
ระบบการเมือง  
นโยบายสาธารณะ
ระบบบริหาร
มีหลักสำคัญอยู่ 4 ประการ
1.เป็นการศึกษาที่อยู่ในขอบข่ายหนึ่งของรัฐประศาสนศาสตร์
¦ มีเป้าหมายที่จะเปลี่ยนแปลงนโยบายสาธารณะหรือโครงสร้างต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความเป็นธรรมทางสังคม
¦ ไม่ได้มุ่งเฉพาะความประหยัด ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล แต่เน้นเป้าหมายความเป็นธรรมด้วย
2.เป็นการศึกษาวิเคราะห์นโยบายโดยมุ่งเน้นที่ขั้นตอนของการบริหารนโยบาย นั่นคือ ขั้นการนำนโยบายไปปฏิบัติ
¦ จะใช้ทรัพยากรทางการบริหารทั้งหลายที่มีให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างไร
3.การกำหนดนโยบายสาธารณะเป็นกิจกรรมหรือกระบวนการอย่างหนึ่งของการ  บริหาร
 ¦ ถือว่าระบบนโยบายสาธารณะเป็นระบบย่อยของระบบบริหารโดยมีระบบการเมืองอยู่ล้อมรอบ
4.เป็นการศึกษาถึงศาสตร์ว่าด้วยนโยบาย (Policy Science)
 ¦ เน้นศึกษาการตัดสินใจ
1.การกำหนดนโยบายสาธารณะ ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของการตัดสินใจ
 ¦ เป็นการตัดสินใจเพื่อกำหนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ไว้ล่วงหน้า เพื่อการวางแผนการกระทำต่าง ๆ ของรัฐบาล
2.ขั้นตอนหรือกระบวนการในการกำหนดนโยบายสาธารณะ คล้ายกันกับกระบวนการตัดสินใจ
3.ผู้ที่จะศึกษานโยบายสาธารณะ ควรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการตัดสินใจเป็นอย่างดีก่อน จะทำให้ได้รับประโยชน์จากการศึกษานโยบายสาธารณะได้อย่างดี

มอนเตสกิเออ (Montesquieu)
แบ่งอำนาจอธิปไตยออกเป็น 3 ฝ่าย

1.อำนาจนิติบัญญัติ  ð ออกกฎหมาย
2.อำนาจบริหาร  ð นำไปปฏิบัติ
3.อำนาจตุลาการ  ð ตีความ
 ประโยชน์ของการศึกษานโยบายของรัฐ

1. ได้รับความรู้ความเข้าใจ
=> อะไรเป็นนโยบาย ทำไมจึงต้องมีนโยบาย
=> ใครริเริ่ม ผลเป็นอะไร  ดี/เสีย อย่างไร
=> เป็นการรู้เพิ่มเติมมากจากรัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์
=> สามารถคาดคะเนเหตุการณ์ล่วงหน้า

2. ทราบกระบวนการต่าง ๆ ของการกำหนดนโยบาย
=> ขั้นตอน
=> วิธีการ
=> ปัจจัยต่าง ๆ ที่จะนำมาใช้

3.ทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสถาบันทางการเมืองและผู้นำทราบถึง

4. ทราบถึงวิธีการวิเคราะห์ปัญหาอย่างมีเหตุผล มีกฎเกณฑ์ 

 

หมายเลขบันทึก: 445341เขียนเมื่อ 22 มิถุนายน 2011 14:05 น. ()แก้ไขเมื่อ 23 มิถุนายน 2012 14:35 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท