นโยบายสาธารณะและการวางแผน (มสธ)


ความหมายของนโยบายสาธารณะของเจมส์ แอนเดอร์สัน

นโยบายสาธารณะและการวางแผน
ความหมายของนโยบายสาธารณะของเจมส์ แอนเดอร์สัน
- แนวทางการกระทำของรัฐบาลเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ประโยชน์ของนโยบายสาธารณะ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.ทำให้ได้รับความรู้ ความเข้าใจ ในช่วงหนึ่ง ๆ ของรัฐบาลประเทศนึ่ง
2. ทำให้ทราบกระบวนการต่าง ๆ ของนโยบาย
3. ทำให้ทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของสถาบันทางการเมืองและผู้นำทางการเมืองของประเทศ
4. ทำให้ทราบถึงวิธีการต่าง ๆ ในการวิเคราะห์ปัญหาอย่างมีเหตุมีผล
ข้อใดเป็นลักษณะปัญหาของสังคม
- ความไม่สิ้นสุดของปัญหา
การจำแนกนโยบายสาธารณะของ Dye (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.เป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างก็ตามขึ้นในสังคม
2. เป็นกลไกในการจัดระเบียบสังคมไปในทางที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งกับประเทศอื่นหรือสังคมอื่นได้
3. เป็นกลไกสำคัญในการจัดสรรปันส่วนสินค้าและบริการให้แก่สมาชิกของสังคม
4. เป็นเครื่องมือในการดึงดูดหรือถอนเงินมาจากสังคมโดยทั่วไป
ข้อใดคือนโยบายลักษณะแนบแน่นของ ชุบ กาญจนประกร
- เพื่อแสดงให้เห็นถึงความแน่นอนและความสมานฉันท์ในรายละเอียดต่าง ๆ
ขอบข่ายการศึกษานโยบายสาธารณะ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1. การกำหนดหรือก่อรูปนโยบาย
2. การนำนโยบายไปปฏิบัติ
3. การประเมินผลนโยบาย
4. การวิเคราะห์ผลย้อนกลับของนโยบาย
พัฒนาการของการศึกษานโยบายสาธารณะยุคขยายตัวคือข้อใด
- 1. เนื่องจากได้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญขึ้นในกระบวนการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา
2. เนื่องจากในระหว่างทศวรรษ 1960 มีการวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากในหมู่ชาวอเมริกันเกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศของสหรัฐอเมริกาในขณะนั้น
ข้อใดเป็นตัวแบบการศึกษานโยบายสาธารณะ
- 1. กรอบแนวคิดของวิธีการศึกษาในแง่ทฤษฎีหรือตัวแบบของนโยบาย
2. กรอบแนวคิดของวิธีการศึกษาในแง่ขอบเขตของนโยบายสาธารณะ
3. กรอบแนวคิดของวิธีการศึกษาในแง่กระบวนการของนโยบาย
ข้อใดเป็นตัวแบบการศึกษานโยบายสาธารณะตามแนวรัฐศาสตร์
- การศึกษารัฐศาสตร์สมัยดั้งเดิม การศึกษารัฐศาสตร์สมัยใหม่
ข้อใดเป็นตัวแบบการศึกษานโยบายสาธารณะตามรัฐประศาสนศาสตร์
- 1. เป็นการศึกษาที่อยู่ในขอบข่ายหนึ่งของรัฐประศาสนศาสตร์ 2. ขั้นการนำนโยบายไปปฏิบัติ
3. การกำหนดนโยบายสาธารณะเป็นกิจกรรมหรือกระบวนการอย่างหนึ่งของการบริหาร
4. โดยแท้ที่จริงแล้วเป็นการศึกษาถึงศาสตร์ว่าด้วยนโยบายสาธารณะ
ตัวแบบการศึกษาแนวบูรณาการเน้นการศึกษาอะไร
- ศึกษานโยบายสาธารณะอย่างครบวงจร
แนวคิดที่ต้องการแยกฝ่ายการเมืองออกจากฝ่ายบริหารเพราะเหตุใด
- 1. ความต้องการที่จะให้มีการควบคุมและถ่วงดุลอำนาจซึ่งกันและกัน
2. แต่ละฝ่ายต่างมีความต้องการได้ตัวบุคคลที่มีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน
3. แต่ละฝ่ายมีระยะเวลาของการดำรงตำแหน่งไม่เท่าเทียมกัน
4. ความต้องการที่จะประกันสิทธิเสรีภาพของประชาชน
5. การปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละฝ่ายย่อมต้องการให้บรรลุผลสำเร็จหรือมีประสิทธิผล
สิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1. เป็นสิ่งที่อยู่รอบ ๆ นโยบายสาธารณะซึ่งมีผลหรือความสัมพันธ์
2. เป็นสิ่งที่เป็นธรรมชาติและทางสังคม
3. เป็นเงื่อนไข หรือปัจจัย หรือตัวแปร
4. เป็นปัจจัยทีมีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะทั้งในเชิงบวกและลบ
ความสำคัญของการศึกษาปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อนโยบายสาธารณะ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1. ช่วยกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจของประเทศให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
2. ช่วยกำหนดกลยุทธ์ของประเทศให้นำไปสู่การสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน
3. ช่วยตัดสินเกี่ยวกับนโยบายได้ถูกต้อง
4. ช่วยปรับตัวแก้ไขปัญหาได้อย่างรวดเร็ว
ข้อใดคือความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล
- 1. การเมืองกับการบริหาร
2. การเมืองกับนโยบายสาธารณะ
3. การบริหารกันนโยบายสาธารณะ
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมภายในระบบการเมือง (ข้อใดไม่ใช่)
- 1. ปัจจัยด้านสถาบันทางการเมือง
2. ปัจจัยด้านกระบวนการทางการเมือง
3. ปัจจัยด้านพฤติกรรมทางการเมือง
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของ ดันน์ คือปัจจัยในข้อใด
- ปัจจัยสิ่งแวดล้อมของนโยบาย
นโยบายรับประกันสุขภาพเป็นองค์ประกอบใดในระบบนโยบายสาธารณะของ เดวิด อิสตัน
- ปัจจัยนำออก
ภาวะว่างงานเป็นปัจจัยในด้านใด
- ปัจจัยด้านสังคม
รัฐต้องคุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชนส่งเสริมความเสมอภาคทั้งชายและหญิง ฯ คือมาตราใดในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540
- มาตรา 80
กระบวนการนโยบายสาธารณะ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1. ขั้นก่อตัวของนโยบาย
2. ขั้นตระเตรียมข้อเสนอร่างนโยบาย
3. ขั้นกำหนดเป็นนโยบาย
4. ขั้นนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
5. ขั้นประเมินผลนโยบาย
การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ การป้องกันการทุจริต คอรัปชั่นเกี่ยวข้องกับปัญหาใด
- การจัดระเบียบกฎเกณฑ์
- ราชการเป็นใหญ่มีความหมายตรงกับข้อใด 
- การให้ความสำคัญกับกฎหมายของรัฐคือข้อใด
- สภาคองเกรส ข้าราชการ นักธุรกิจ สามอย่างนี้เรียกว่าอะไร
- หน่วยงานย่อยของรัฐบาล
ใครเป็นผู้มีส่วนร่วมขั้นกำหนดนโยบายอย่างเป็นทางการ
- ศาล
ใครเป็นผู้มีส่วนร่วมขั้นกำหนดนโยบายอย่างไม่เป็นทางการ
- กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง ปัจเจกเอกชน
ตัวแบบสถาบันเน้นความสำคัญอะไร
- เน้นกิจกรรมของสถาบันและองค์การต่าง ๆ ของรัฐ
นโยบายมักมีลักษณะของการผูกขาดบังคับเป็นบทบาทของระดับใด
- สถาบันองค์การต่าง ๆ ของรัฐ
นโยบายการจัดระเบียบกฎเกณฑ์กำหนดโดยหน่วยงานใด
- ระดับกลางหรือระดับล่างที่เป็นระบบย่อย ๆ
นโยบายสาธารณะที่มีการแก้ไขเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไปเป็นนโยบายสาธารณะแบบใด
- แบบเพิ่มส่วน
ข้อใดเป็นความหมายของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของ แวน มีเตอร์ และแวน ฮอร์น
- การดำเนินการโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลในภาครัฐหรือเอกชน ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวมุ่งที่จะก่อให้เกิดความสำเร็จโดยตรงตามวัตถุประสงค์ของนโยบายที่ได้ตัดสินกระทำไว้ก่อนหน้านี้นั้นแล้ว
นโยบายสาธารณะที่ดีของซาบาเตียร์และแมสมาเนียน (ข้อใดไม่ใช่) 
1. สามารถแก้ไขปัญหาได้จริง
2. มีทฤษฎีและหลักวิชาการอ้างอิง
3. มีการปฏิบัติไม่ยุ่งยากหรือไม่สลับซับซ้อน
4. มีการระบุขนาดและลักษณะของกลุ่มเป้าหมายชัดเจนว่าเป็นใคร มีแหล่งอาศัยอยู่ที่ไหน
5. มีลักษณะโครงสร้างการบริหารนโยบายและแผนที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงโครงสร้าง
6. มีการกำหนดข้อผูกพันในการสนับสนุนด้านต่าง ๆ
7. มีการกำหนดแบบแผนการตัดสินใจไว้ชัดเจน
8. เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกมีส่วนร่วมในการตรวจและประเมินการปฏิบัติ
ข้อใดเป็นหารพิจารณาความสำเร็จหรือล้มเหลวในมุมกว้าง
1. พิจารณาที่ขั้นการนำไปปฏิบัติ
2. พิจารณาที่ตัวนโยบายและแผน
3.พิจารณาที่การตัดสินใจเชิงคุณค่าหรือการตัดสินเชิงจริยธรรมของสังคม
ข่าวสารนโยบายที่ระบุวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายคือปัจจัยใด
- ปัจจัยด้านข้อความนโยบาย
ตัวแปรของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติของ แวน มีเตอร์ และแวน ฮอร์น (ข้อใดไม่ใช่) 
1. ต้องระบุวัตถุประสงค์และมาตรฐานนโยบาย
2. ต้องกำหนดทรัพยากรสนับสนุนนโยบาย
3. การสื่อสารนโยบายเพื่อทำความเข้าใจร่วมกันของกลไกการขับเคลื่อนต่าง ๆ ชัดเจน
4. ต้องกำหนดหน่วยงานรับผิดชอบนโยบายและแผนไปปฏิบัติตามความสาสารถและชำนาญชัดเจน

ตัวแบบกระบวนการสาธารณะไปปฏิบัติของ ซาบาเตียร์และแมสมาเนียน (ข้อใดไม่ใช่) 
1. ความสามารถแก้ไขปัญหาได้ของสาระนโยบาย
2. ลักษณะโครงสร้างการนะนโยบายไปปฏิบัติที่นโยบายกำหนด
3. ตัวแปรที่มิใช่เนื้อหาสาระของนโยบาย
4. ขั้นตอนในกระบวนการนำนโยบายไปปฏิบัติ
ข้อใดคือตัวแปรที่ไม่ใช่เนื้อหาสาระของนโยบาย
1. เงื่อนไขทางสังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยี
2. การสื่อสารมวลชนเพื่อพัฒนาความเข้าใจปัญหานโยบาย
3. การสนับสนุนสาธารณะ
4. เจตคติต่อนโยบายของกลุ่มผู้เลือกตั้ง
การป้องกันอาชญากรรมเป็นกลยุทธ์แบบใด
- กลยุทธ์การให้ข้อมูลข่าวสาร
การลงโทษเป็นกลยุทธ์แบบใด
- กลยุทธ์การกำกับควบคุม
กลยุทธ์การนำนโยบายการกระจายอำนาจไปปฏิบัติ (ข้อใดไม่ใช่) 
1. การกำหนดขอบข่ายความประสงค์ของการกระจายอำนาจ
2. การประเมินศักยภาพของภูมิภาคและท้องถิ่น
3. การแสวงหาการสนับสนุนทางการเมือง
4. การประเมินความสามารถด้านการสนับสนุนจากหน่วยงานส่วนกลาง
ข้อใดคือกลไกการนำนโยบายไปปฏิบัติระดับจุลภาค
- องค์การภาครัฐหรือหน่วยงานต่าง ๆ
ข้อใดคือความสำคัญการนำนโยบายไปปฏิบัติหน่วยงานเดียว
- วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย และกลยุทธ์การพัฒนา
การนำนโยบายไปปฏิบัติองค์การเดียวสามารถนำหลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ของการปฏิบัติตามนโยบายข้อใด
- RMB
ข้อใดเป็นแนวทางการป้องกันการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติหลายหน่วยงาน 
ข้อใดคือความหมายของการกำกับ ตรวจสอบนโยบายสาธารณะและแผนในความหมายแนวกว้างของดันน์
- มองการกำกับนโยบายจากกรอบการวิเคราะห์นโยบาย ซึ่งพิจารณาการกำกับนโยบายในลักษณะการกำกับผลลัพธ์นโยบาย
ข้อใดคือความหมายของการกำกับ ตรวจสอบนโยบายสาธารณะและแผนในความหมายแนวลึก
- มองการกำกับนโยบายลงลึกไปถึงขั้นปฏิบัติการของแผนงานหรือโครงการทีรองรับนโยบาย
ความสำคัญการกำกับตรวจสอบนโยบาย (ข้อใดไม่ใช่) 
1. การบังคับให้ยอมตาม
2. วางแนวทางการตรวจสอบ
3. การบันทึกและรายงานระบบบัญชีสังคม
4. การอธิบายเหตุผล
แนวทางการวิเคราะห์รายงานข้อมูลระบบบัญชีสังคมเป็นแนวทางการตรวจสอบนโยบายสาธารณะแบบใด
- แนวทางการกำกับตรวจสอบผลลัพธ์นโยบายและแผน
ข้อใดคือข้อจำกัดของการทดลองทางสังคม
- ต้องใช้กลุ่มเป้าหมายทางสังคมเป็นกลุ่มตัวอย่างเพื่อการทดลอง

ข้อใดเป็นปัญหาเกี่ยวกับสถานะของนโยบาย
1. หากต้องการเปลี่ยนแปลงขนาดใหญ่มีขอบเขตกว้าง
2. หากมีการกำหนดมาตรฐาน เป้าหมาย และวัตถุประสงค์คลุมเครือไม่ชัดเจน
3. หากมีการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายมาสอดคล้องกับสภาพปัญหา
4. หากมิได้กำหนดโครงสร้างการบริหารนโยบายไว้ชัดเจน
ข้อใดคือความสำคัญของการประเมินนโยบายสาธารณะ
- มีการปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการดำเนินงานสูงเพียงไร มีปัญหาอุปสรรคเกิดขึ้นอย่างไร
มีการเบี่ยงเบนไปจากนโยบายที่วางไว้ตั้งแต่ตันหรือไม่
ข้อใดคือความสำคัญการวิเคราะห์ประเมินผลนโยบายสาธารณะระดับจุลภาค
-
เกณฑ์ในการประเมินผลนโยบายสาธารณะของดันน์ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.ประสิทธิภาพ 2. ประสิทธิภาพ 3. ความพอเพียง 4. ความเป็นธรรม 5. ความตอบสนองความต้องการ 6. ความเหมาะสม
การประเมินผลแบบเทียม (ข้อใดไม่ใช่)
1. การทำบัญชีระบบสังคม 2. การทดลองทางสังคม 3. การตรวจสอบสังคม 4. การวิจัยสะสมสังคม
การประเมินผลเชิงตัดสินใจ
1. การมาใช้ข่าวสารเกี่ยวกับการปฏิบัติงานหรือใช้ไม่สมบูรณ์เต็มที่
2. เป้าหมายการปฏิบัติงานไม่แน่ชัด
3. วัตถุประสงค์ขัดแย้งกัน
ข้อใดคือผลที่ตามมาของปัญหาความไม่แน่ชัดของเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสาธารณะ
1.ปัญหาการไม่ทราบขอบเขตและความครอบคลุมของนโยบาย
2.ปัญหาการไม่ทราบโอกาสที่จะบรรลุผลสำเร็จของนโยบาย
3.ปัญหานโยบายซ้ำซ้อนกัน
ปัญหาอื่นของนโยบายสาธารณะคือข้อใด 

 1.ปัญหาเรื่องข้อมูลข่าวสารในการประเมินผลนโยบาย
2.ปัญหาการใช้เทคนิคในหารประเมินผลนโยบาย
3. ปัญหาเกี่ยวกับลักษณะของนโยบาย
4.ปัญหาเรื่องระยะเวลาในหารประเมินผลนโยบาย
สาเหตุการปรับปรุงนโยบายสาธารณะ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.นโยบายสาธารณะถูกกำหนดขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและของประเทศ
2. นโยบายสาธารณะนั้นส่วนใหญ่จะถูกกำหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางหรือเป็นเครื่องมือในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ
3. ถ้าพิจารณาในตัวนโยบายสาธารณะเอง
ข้อใดคือการก่อตัวนโยบายสาธารณะของไทย
- 1. การปะทุของปัญหาสาธารณะที่ประชาชนเห็นพ้องต้องกัน
2. โอกาสที่เปิดให้เมื่อค้นพบทรัพยากรธรรมชาติที่มีจำนวนมากและมีขนาดใหญ่ กว้างขวาง
3. การได้รับความช่วยเหลือจากต่างประเทศในยุคสงครามเย็น
ข้อใดคือวงจรและตัวแบบนโยบายสาธารณะของไทย
- มีการยุบสภาผู้แทนราษฎรบ่อยครั้ง ทำให้การเมืองไม่มั่นคง ไม่ต่อเนื่อง
กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะของไทย (ข้อใดไม่ใช่)
- ระดับล่าง สมาชิกองค์การบริหารส่วนตำบล หน่วยงานปกครองท้องถิ่นระดับเทศบาล
ระดับชาติ ผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา
กลุ่มผลักดันสื่อมวลชนหรือแม้แต่ผู้เสนอกระทู้ใน Internet
ปัญหาองค์กรและผู้เกี่ยวข้องในการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.ความชัดเจนของนโยบาย 2. ความสอดคล้องต้องกันในเป้าหมายของนโยบาย
3.ความเข้าใจในนโยบายของหน่วยงานที่รับผิดชอบ 4. ความร่วมมือและความจริงใจของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จหรือล้มเหลวของการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.สภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงาน 2. ปัจจัยด้านเวลาและทัพยากร 3. นโยบายที่มีพื้นฐานอยู่บนทฤษฎีหลักสมเหตุและผลลัพธ์ที่เชื่อถือได้ 4. ปัญหาการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม
PPIP
- P นโยบาย P แผนงาน I แปลงนโยบาย P กระบวนการ
ความสัมพันธ์ระหว่างนโยบายกับแผนแบ่งออกได้กี่ลักษณะ
- 1. ความสัมพันธ์ระหว่างเป้าประสงค์ วัตถุประสงค์ นโยบาย แผน แผนงาน และโครงการ
2. ความสัมพันธ์ในแนวดิ่งหรือแนวตั้ง
3. ความสัมพันธ์ในแนวราบ
4. การเชื่อมโยงระหว่างนโยบายสาธารณะและการวางแผน
Adaptivizing Planning หมายถึงข้อใด
- การวางแผนโดยมุ่งการปรับตัวขององค์การ
ทัศนะการวางแผนของ Ackoff (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.การออกแบบสิ่งพึงประสงค์ในอนาคต
2. เป็นเครื่องมือของผู้บริหารที่วิวิสัยทัศน์
3. กระบวนการตัดสินใจ
ความจำเป็นในการวางแผน (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.เพื่อดึงดูดความสนใจของผู้รับผิดชอบเข้าสู่ปัญหาที่กำลังเผชิญอยู่
2. เพื่อกระตุ้นให้เกิดการถกเถียงและอภิปรายเกี่ยวกับทางเลือกที่ควรจะทำ
3. เพื่อนำเสนอแนวทางปฏิบัติหรือชุดของการกระทำที่เฉพาะเจาะจง
4. เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์ของการจัดสรรงบประมาณ
องค์ประกอบของแผนส่วนที่สำคัญที่สุด
- วัตถุประสงค์
โครงสร้างเขื่อนน้ำโจนเป็นประเภทใดของนิวแมน
- แผนใช้ครั้งเดียว
แผนกายภาพคืออะไร
- แผนการใช้ที่ดิน
ข้อใดคือขั้นสุดท้ายของการวางแผนการทดสอบปรับปรุงแผน
- การปรับปรุงเพื่ออนุมัติแผน
ทฤษฎีใดที่ประเทศส่วนมากในปัจจุบันใช้ในการพัฒนาประเทศ
- แบบผสมผสาน
การพัฒนาเศรษฐกิจเน้นบทบาทของรัฐเป็นการพัฒนาแบบใด
- แบบสังคมนิยม
แนวคิดที่ว่ารัฐควรมีบทบาทเพื่อป้องกันการผูกขาดและช่วยเหลือผู้ด้วยโอกาสทางเศรษฐกิจเป็นแนวคิดแบบใด
- แบบผสม
ข้อใดคือความหมายของการวางแผนพัฒนาของไบรอันท์และหลุยจีไวท์
- 1.การเพิ่มความสามารถ 2. การสร้างความเป็นธรรม 3. การสร้างพลังอำนาจ 4. การสร้างเสถียรภาพ


ข้อใดคือวิวัฒนาการของการวางแผนพัฒนาในประเทศไทย
- การนำความรู้เกี่ยวกับแผนมาใช้ในการพัฒนาประเทศเริ่มขึ้นอย่างเป็นทางการในสมัยของพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การพัฒนาเศรษฐกิจที่จำกัดด้านทรัพยากรเป็นแบบใด
- แบบไม่สมดุล
วิธีการวางแผนพัฒนาสังคม (ข้อใดไม่ใช่)
-
SWOT O หมายถึงอะไร
- S จุดแข็ง W จุดอ่อน O โอกาส T อุปสรรค
ความสำคัญการวางแผนยุทธศาสตร์ (ข้อใดไม่ใช่)
1.กำหนดทิศทางขององค์การ 2. สร้างความสอดคล้องในการปฏิบัติ 3. สร้างความพร้อมให้กับองค์การ
4. สร้างประสิทธิภาพในการให้บริการ
STEPI I หมายถึงอะไร
- S สังคม T เทคโนโลยี E เศรษฐกิจ P การเมือง I จากต่างประเทศ
FORECAST C หมายถึงอะไร
- F อนาคต O โอกาส R การวิจัย E ผล C เหตุ A สมมติฐาน S วิธีการทางวิทยาศาสตร์ T เทคโนโลยี
ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกของการพยากรณ์
- การกำหนดวัตถุประสงค์ของการพยากรณ์
การพยากรณ์เชิงคุณภาพ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.เทคนิคเดลฟี 2.เทคนิคการพยากรณ์โดยการวิจัยตลาด 3.เทคนิคนอมินัลกรุ๊ป
4.เทคนิคการพยากรณ์เชิงคุณภาพแบบอื่น ๆ เช่นเทคนิคการพยากรณ์แบบรากหญ้า เทคนิคการพยากรณ์โดยอาศัยข้อมูลในอดีต
การพยากรณ์โดยการวิเคราะห์แบบอนุกรมเวลา (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.แนวโน้มคงที่ 2. การเปลี่ยนแปลงตามฤดูการ 3. การเปลี่ยนแปลงตามวัฏจักร 4. การเปลี่ยนแปลงผิดปกติ
การพยากรณ์โดยการใช้แบบของมาร์คอฟ
- เป็นตัวแบบทางคณิตศาสตร์ที่นำมาใช้ในหารวิเคราะห์พฤติกรรมของตัวแปรเพื่อพยากรณ์พฤติกรรมในอนาคตของตัวแปรนั้น ๆ
ลักษณะของโครงการ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1.มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน 2. มีความเป็นอิสระในการดำเนินการ 3.มีขอบเขตการดำเนินงานที่แน่นอน ชัดเจน
4. มีระยะเวลาที่แน่นอนชัดเจน 5. มีกำหนดการที่แน่นอน
SMART M หมายถึงข้อใด
-S ความเฉพาะเจาะจง M สามารถวัดได้ A สามารถทำสำเร็จได้ R มีเหตุผล T ระบุระยะเวลา
สภาพแวดล้อมในการบริหารโครงการ (ข้อใดไม่ใช่)
1.ความสลับซับซ้อน 2. ความสมบูรณ์ 3. การแข่งขัน 4. ความต้องการของลูกค้า
กระบวนการบริหารโครงการของ Martin (ข้อใดไม่ใช่)
- หาความต้องการผู้รับบริการ ประชาสัมพันธ์ผู้รับบริการ การวางแผนโครงการ การอำนวยการโครงการ
การดำเนินการโครงการ การประเมินผลโครงการ การปรับปรุงโครงการ การรายงานโครงการ
การเขียนรูปแบบโครงการคือรูปแบบใด
- การเขียนโครงการแบบพรรณนา และ แบบตารางสมเหตุสมผล
มูลค่าปัจจุบันสุทธิเป็นการวิเคราะห์เศรษฐกิจแบบใด
- อัตราผลตอบแทนต่อการลงทุน
ผู้จัดการโครงการแบบใดมีอำนาจน้อยที่สุด
- ผู้จัดการโครงการในฐานะผู้เร่งรัดโครงการ
ข้อใดคือประเภทของการระเมินโครงการ
- การประเมินเพื่อการปรับปรุงและการประเมินผลรวมสรุป
EVALUTION ทุกส่วนภูมิภาคมีส่วนร่วมคือตัวย่อใด
- E จริยธรรม V ปราศจากอคติค่านิยม A ชื่นชม L มีเหตุผล U เข้าใจได้ง่าย T ความโปร่งใส I สหวิชา
O ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม N กำหนดตัวชี้วัด
ข้อใดเป็นขั้นตอนแรกการประเมินความสำเร็จของแผนและโครงการ
- เน้นการประเมินผลความพยายาม
CIPP C มีความหมายตรงกับข้อใด
- C ประเมินสภาวะแวดล้อม I ประเมินปัจจัยนำเข้า P ประเมินกระบวนการ P ประเมินผลผลิต
การเลือกประเมินเฉพาะส่วนดีเป็นการประเมินแบบใด
- แบบตบตา
ข้อใดคือปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการประเมินผลสำเร็จของแผนและโครงการ
- 1.การเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภคหรือผู้รับบริการ
2. ความเป็นวิชาชีพของผู้ประเมิน
3. ประสิทธิผลของการขัดการ
4. ข้อจำกัดเกี่ยวกับทรัพยากร
5. อำนาจที่ได้รับตามกฎหมาย
การระบุความหมายและขอบเขตของประเด็นปัญหาให้แน่ชัดเป็นวิธีการวิเคราะห์ของการประเมินผลแผนและโครงการเชิงตรรกะตามข้อใด
- วิธีการวิเคราะห์คำถามย่อย
ข้อใดเป็นเทคนิคการประเมินผลแบบเทียม
- เทคนิคการทำบัญชีระบบสังคม และ เทคนิคการทดลองทางสังคม
ข้อใดเป็นเทคนิคการประเมินผลแบบตัดสินใจ
- เทคนิคการระดมสมอง และ เทคนิคการประเมินผลแบบรวมหมด
ข้อใดเป็นปัญหาการแบ่งโครงสร้างหน้าที่ราชการไทยแบบแยกส่วน
- 1. การขาดการบูรณาการแผนงานและโครงการของระบบราชการหรือส่วนราชการในระดับต่าง ๆ อย่างแท้จริง
2. หน่วยงานด้านแผนและโครงการไม่สามารถแสดงบทบาทและทำหน้าที่ในการบูรณาการ
3. การขาดความร่วมมือและสนับสนุนระหว่างส่วนกลาง
4. การขาดระบบการติดตาม ประเมินผล และรายงานอย่างเป็นระบบ
การประสานงานของข้าราชการ (ข้อใดไม่ใช่)
- 1. การประสานงานระหว่างหน่วยงานกลาง
2. การประสานงานระหว่างหน่วยงานกลางกับกระทรวง ทบวง กรม
3. การประสานงานระหว่างกระทรวงกับกรม และกรมในกระทรวงเดียวกัน
4. การประสานงานระหว่างกระทรวง และระหว่างกรมต่าง ๆ
ข้อใดเป็นปัจจัยเกี่ยวกับลักษณะของนโยบาย
- 1. ขนาดหรือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามแผนงานและโครงการ
2. ระดับความเห็นพ้องต้องกันในวัตถุประสงค์ของแผนงานและโครงการ
3. ผละกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากนโยบาย
4. ระดับความสอดคล้องระหว่างนโยบายกับค่านิยม 5. ความชัดเจนของผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามมาจากการปฏิบัติตามนโยบาย
พระราชบัญญัติการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545 ให้ความสำคัญกับข้อใด
- การบริหารมุงผลสัมฤทธิ์ (ข้อใดไม่ใช่)
1.เป็นแนวทางหรือเทคนิคการบริหารตามแนวคิดหารบริหารแนวใหม่
2. เป็นวิธีการบริหารจัดการที่มุ่งเน้นผลกสนปฏิบัติงานเพื่อให้องค์กรการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
3. ปรับปรุงผลการดำเนินงานขององค์กรที่ทุกคนต้องมีส่วนร่วม
4. เพื่อให้ระบบและวิธีการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
ความหมายของสารสนเทศ (ข้อใดไม่ใช่)
- ข้อมูล ประมวลผล สารสนเทศ
ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์ (ข้อใดไม่ใช่)
- ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์
1. อุปกรณ์รับข้อมูล
2. หน่วยประมวลผลกลาง
3. หน่วยความจำ
4. อุปกรณ์แสดงผล
ข้อใดเป็นประโยชน์ของระบบสารสนเทศต่อการกำหนดนโยบายสาธารณะ
- 1.ช่วยวิเคราะห์เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมภายนอกองค์กร
2. ช่วยระบุและการเลือกหัวข้อปัญหา
3. ช่วยวิเคราะห์ทางเลือก
4. ช่วยในการอนุมัติทางเลือกและการกำหนดทรัพยากร
5. ช่วยกำหนดแผนงาน
6. สนับสนุนการปฏิบัติงานตามแผน
7. ช่วยควบคุมการปฏิบัติการ
8. สนับสนุนความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
9. ช่วยในการประเมินและทบทวนนโยบาย
การพัฒนาระบบสารสนเทศเมื่อวิเคราะห์ความต้องการแล้วขั้นตอนต่อไปคืออะไร

 

หมายเลขบันทึก: 445337เขียนเมื่อ 22 มิถุนายน 2011 13:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 21 มิถุนายน 2012 16:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท