อุดมศึกษา ร่วมสร้างประเทศไทยน่าอยู่


(PowerPoint  และเอกสารประกอบการบรรยายพิเศษ  เรื่อง  “อุดมศึกษาร่วมสร้างประเทศไทยน่าอยู่”  ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการประชุมวิชาการระดับชาติประจำปี  2553  ภายใต้แนวเรื่อง  “อุดมศึกษาร่วมสร้างประเทศไทยน่าอยู่”  วันที่  13 – 15  ธันวาคม  2553  ณ  บางกอกคอนแวนชั่นเซ็นเตอร์  เซ็นทรัลลาดพร้าว  กรุงเทพมหานคร  จัดโดย  สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ)

 

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 414432เขียนเมื่อ 17 ธันวาคม 2010 16:14 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 ธันวาคม 2012 13:47 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (5)

เรียนท่านอาจารย์ครับ

มีการบันทึกไว้หรือไม่ครับ อยากชมด้วยครับ

ด้วยความรู้สึกส่วนตัว เห็นว่าการศึกษาควรปรับตัวอย่างแรง เพื่อตอบคำถามของสังคม

1.สังคมต้องการคนดีมากขึ้น

2.สังคมต้องการความสุข (ความพอเพียง)

3. สังคมต้องการให้ผู้จบการศึกษากลับไปพัฒนาหมู่บ้าน โดยไปสร้างงานที่นั่น

4. สังคมต้องการให้รับรู้ความหนาวร้อนของสังคม เป็นส่วนหนึ่งของสังคม นำสังคมไปในทางที่ถูกต้อง

5.สังคมต้องการนักการเมืองไม่โกง ให้มหาวิทยาลัยสร้างคนออกมาใหม่หาทางแก้ไข

อันนี้ผมขอแถม.....

6.สังคมต้องการรถไฟรางคู่ ตั้งเป็นอะไรสักอย่างที่ไม่ต้องผ่านนักการเมืองได้หรือไม่ครับบบบบบ

Thank you for sharing the thought on 'reforming Thai society'.

I think that we do need to define our indicators on 'health' and 'financial security' in 'people perspectives' that is to have indicators that people can use and understand by themselves -- not from 'periodic statistics' (which can cost to collect and be out-of-date or lagging all the time).

In your examples Indicator-1 certain diseases are counted and used (to say the less the better health). In another, (averaging amounts in) savings are used to say how much 'spare money' people have and the more the better. (Our GDP does not reflect that 80% of Thais are poor and have no savings but some 10% have billions and trillions (not in savings but in assets and investments).

My points are that these indicators are from 'top-down' view, not from the bottom-up (grassroot) view. Do people need to be told how healthy and wealthy they are? If we can live with just what we need (not what we want) and we are quite contented with produces from our land and surrounding wild environment with our diabetes and other disabilities, are we then healthy? wealthy? or what just weird?

ขออนุญาตินำข้อความบางส่วนไปใส่ในงานวิจัยจะได้ไหม?ค่ะ -_-'' แบบว่าโดนใจจริงๆๆ

ขอบคุณค่ะ..อยากเห็นการขับเคลื่อนแนวคิดข้างต้นอย่างเป็นรูปธรรมค่ะ..

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท