PCA แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับประเทศ 14-15 ตุลาคม 2553 โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์ กรุงเทพ


PCA แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับประเทศครั้งที่1 วันที่14-15 ตุลาคม 2553

ประชุม PCA แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่1 วันที่  14-15 ตุลาคม 2553

ณ  โรงแรมเอบีน่าเฮ้าส์  กรุงเทพมหานคร

 

รายชื่อ สมาชิกในกลุ่ม

ชื่อ            สถานที่ทำงาน                                          ภูมิภาค

1.ละอองทิพย์      สสจ.ชลบุรี                                        East

2.นพดล     สสจ.ชลบุรี                                               East

3.มณฑา    รพ.ทุ่งฝน  อุดรธานี                                        NE

4.ธิราภรณ์       รพ.ขุนหาญ  ศรีษะเกษ                              NE

5.ศิริลักษณ์      รพ.ดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี                           Central

6.กาญจนา       รพ.ยางตลาด  กาฬสินธุ์                             NE

7.สิทธิพร        สสจ.พะเยา                                             N

8.ขนิษฐา        สสจ.แพร่                                               N

9.ธิรวรรณ       สสจ.ชุมพร                                              S

10.บุษกร       สสจ.ระนอง                                             S

11.สันติ       สปสช.สุราษฎร์ธานี                                     S

12.เอกรัฐ    รพ.สิชล นครศรีธรรมราช                                S

แลกเปลี่ยน ช่วงที่ 1 ประเด็น “ การดำเนินงานPCAในเครือข่าย”

วิธีการดำเนินงานPCAที่แต่ละCUP นำมาใช้

1.การใช้ โรค/บริการ เป็นตัวเดินเรื่อง/ตัวนำ

เช่น        โรค  TB            Continuity/ Comphrehensive care ของ CUPยางตลาด

                บริการ EMS             Coordination care ของ CUPขุนหาญ

                บริการ  HHC            Continuity/ Holistic care ของ CUPสิชล

“มุ่งเน้นที่ผู้ป่วย/ชุมชน” “การเชื่อมโยงเข้าสู่หมวดต่างๆใน PCA”

2.รู้จักใช้เครื่องมือ

                -OM  ใน  TB

                -KM , 2 ticks  ใน HHC

                -BSC , R2R , RM

3.คุณสมบัติทีมนำ

                -เข้มแข็ง

                -ประสานงานได้

                -เป็นเสมือนเนื้อเดียวกัน/ไม่รู้สึกแปลกแยก

                -การประสานงานแนวราบ

4.FA คุณอำนวย มีความสำคัญ  เป็นผู้ต่อ Jig  Saw

5.Core-Value

                -คิด             ทีมนำ  นำแบบวิสัยทัศน์  Committent

                -ทำ              Activity  คล่องตัว

                -ปรับ          เกิดนวัตกรรมกระบวนการสร้างคุณค่า ถอดบทเรียนลงหมวด 6.1เช่น CUPขุนหาญ รถเมล์สุขภาพ :ส่งผู้ป่วยโรคตาไปโรงพยาบาลจังหวัดพร้อมกัน                       ระบบ EMS : ผู้ป่วยเรื้อรัง COPD , Hypoglycemic  coma

เครื่องมือที่นำมาใช้ใน Primary care

1. แผนที่ชุมชน-แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ เกิดจาก 2 ฝ่ายร่วมกันคือ ฝ่ายเจ้าหน้าที่  ฝ่ายชาวบ้าน

2. ใช้เรื่องเล่า  เป็นตัวเดินเรื่อง  รวมเรื่องเล่าจากรากหญ้า

ประเด็นเรื่องเล่า   คุณทำอะไรดีแล้ว…………, คุณจะทำให้อะไรให้ดีขึ้นกว่าเดิม………….

ตัวอย่าง เรื่องเล่าจาก CUP ทุ่งฝน

กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน :ป่วยแล้ว/ยังไม่ป่วย

                          :หมู่บ้านจัดการเบาหวาน

                          :เลือกชุมชน  เกิดแกนนำ

                          :ขยายผลคู่หู/ชมรม DM   5 บาท/เดือน  ถ้า Admit 100 บาท/ครั้ง

ตัวอย่างเรื่อง “อ้อมกอดของชุมชน” ชุมชนช่วยกันดูแลผู้ป่วย asthma ที่อาศัยอยู่คนเดียวในชุมชน

 

สรุปการทำงานในชุมชน ระบบสุขภาพชุมชน ประกอบด้วย

หลักคิด  กรอบแนวคิดมุมมองเชิงระบบ, Quality คืออะไร

หลักปฏิบัติ  - Primary Care concepts ,องค์รวม , Humanized health care , Customer   Focus

หลักวิชา     - Family Medicine + Primary Care concepts ,เรื่องเล่า

 

สรุป หลักการทำงานในการดูแลผู้คน(คนปกติ กลุ่มเสี่ยงและคนป่วย)ในเวชปฏิบัติปฐมภูมิ

Concepts  Primary   Care (5C)

ดูแลแต่แรก                            First Contact Care

ดูแลทุกเรื่องตามบริบท        Contexual care

ต่อเนื่อง                                   Continuity care

เบ็ดเสร็จ                                 Comphrehensive care

ผสมผสาน                               Coordination care

เป็นองค์รวม                           Holistic care

หมายเลขบันทึก: 404918เขียนเมื่อ 27 ตุลาคม 2010 15:21 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 11:23 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

แลกเปลี่ยน ช่วงที่ 2 ประเด็น “ PCA ในความหมายของเรา ”

PCA กับ นิยามที่หลากหลาย

PCA คือ

1.การจัดการสุขภาพชุมชนที่ต้องอาศัยพลังการดูแลด้วยหัวใจ เพื่อ ให้ประชาชนดูแลสุขภาพตนเองได้

2.เครื่องมือหนึ่งที่ดึงสิ่งดีๆจากประสบการณ์ที่เราจะทำให้กับประชาชนที่เกิดจากตัวคนจุดนั้นๆ

3.การทำงานประจำให้มีคุณภาพต้องเริ่มจากศรัทธาเชื่อว่าจะทำได้  เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต

4.เกณฑ์คุณภาพที่ใช้ในบริการปฐมภูมิ เพื่อดูแลประชาชน

5.วิธีการทำอย่างไรให้ชุมชนมี “สุขภาวะ”  ประชาชน ได้รับ สิ่งส่งมอบที่ได้มาตรฐาน + หลักการเวชปฏิบัติปฐมภูมิ + ชุมชนเอื้ออาทร

6.เข็มทิศนำทาง

                -ช่วยให้เรารู้ตัวตนของตนเอง

                -มุ่งเน้นผลประโยขน์ต่อประชาชน

                -บริการชุมชนเป็นฐานสุขภาพชุมชน

 

Primary  Care  คำว่า “Care”  คือ “ดูแล-เยียวยา-รักษา”

 

สรุป PCA  คุณจะดูแลผู้คนอย่างไร

จะดูแลผู้คนอย่างไร  = มีความสุขอยู่ที่ได้ดูแลผู้คนจริงๆ เดินลงไปในพื้นที่จริง ดูแลในพื้นที่จริง

PCA มีความหลากหลายในแต่ละบริบทของพื้นที่  ทำให้ไม่สามารถใช้มาตรฐานเดียวประเมินได้

PCA อยากให้เห็น “คน”  +  “ลงพื้นที่มากขึ้น”

PCA ทำให้ “คน” มีสุขภาวะดีขึ้น

แลกเปลี่ยน ช่วงที่ 3 ประเด็น “ประสบการณ์ ของเครือข่าย NODE”

1. CUP ท้ายเหมือง

ขึ้นทะเบียนครบ 9 แห่ง, On Top 8 แห่ง

NP 17 คน จุดเด่น

TSUNAMI ได้คนไทยใหม่สู่สิทธิ์มากขึ้น การสื่อสาร เชื่อมโยง

ทุกวันนี้ทำอะไร PCA

-บทบาทของเราให้ดี

-ระบบปฐมภูมิเล่าภาพทำงานได้

-โอกาสดีที่จะไปท้ายเหมือง เพื่อ เยี่ยมเยียน ตัวอย่าง CASE ที่ทำการดูแลใน Primary Careได้

2. CUP กาญจนดิษฐ์

-เครือข่ายผู้ป่วยล้างไตทางหน้าท้อง ชมรมคนรักไต CAPD ปราจีนบุรี

-พื้นที่เหตุการณ์ไม่สงบ โรคตอตีบระบาด EPI

-ทำให้ผู้ปฏิบัติเข้าใจ PC,FM เชิญผู้มีประสบการณ์มา

-ลงนิเทศทั่วๆไปตามกระบวนการการทำงานหมวด 6

อนาคต -ประเมินตนเองทุกแห่ง

-เข้าร่วมกิจกรรม ลปรร.

3. CUP อ่าวลึก

สิ่งที่ได้ -PC ที่แท้จริงคือ ลงไปในชุมชน รู้จักคน

หลังเข้า Node

-ทำ PCU Profile ของอ่าวลึกเอง/ของเขาเอง

-ผู้ปฏิบัติกล้าพูดกล้าถาม

-เรื่องเล่า

-มี PLAN ทุก 3 เดือน จะมาคุยกับน้อง , นิเทศแบบกัลยาณมิตร

-HHC CUP ลงทุก 1 เดือน สหวิชาชีพ (สสอ.,สอ.,รพ.)

-ทำมาตรฐานแบบมีความสุข

ประโยชน์-ได้โอกาสไปเจอ CUP อื่น,ลปรร,พี่น้องอบอุ่น,รู้จักกันมากขึ้น,เป็นหนึ่งเดียวกันได้ง่ายๆ,เข้าใจ

-ได้กำไร

สสจ.

เดิม-ยังขาดการประเมิน

ต่อไป-มีทุนเดิมคืออ่าวลึกจะขยายผลต่อ CUP อื่น

4. CUP หลังสวน

สสจ. เดิม-ยังติดกรอบ

ใหม่-เปิดวิสัยทัศน์มากขึ้น ทำนอกกรอบ

-สร้างทำความเข้าใจเครือข่ายอื่นในจังหวัด

เกณฑ์คุณภาพบริการปฐมภูมิ

Input Man, Money, Material, Machine

Process ลงมือปฏิบัติ,ทำในชุมชน,ทำใน PCU กระบวนการหลัก PCU

Output สิ่งส่งมอบ ตามมาตรฐานบริการสาธารณสุข เช่น ยา,เวชภัณฑ์,คำแนะนำ

Outcome ผู้ป่วยมีผลการรักษาที่ดี,ผู้ป่วยหายจากโรคและปลอดภัย Infection Rate, TB Success Rate

Impact ความพึงพอใจ

อยากให้พัฒนางานPCA เข้าไปอยู่ในหัวใจของชาวสา"สุขทุกคน

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท