best practice ; การดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบครบวงจร


             

                                         

   

         วันนี้มีโอกาสอันนี้มาแลกเปลี่ยนเรื่องการดูแลผู้ป่วยวัณโรคแบบครบวงจร ซึ่งเป็นที่มาของ "รางวัลชนะเลิศการควบคุมวัณโรค" จาก สสจ.นม

  

                การพัฒนาการดูแลผู้ป่วยวัณโรค

 

Before 2007    แพทย์ตรวจวินิจฉัย ให้การรักษา ในรายแรกเท่านั้น 

                          จนท.เวชฯ จ่ายยาและให้คำแนะนำ ติดตามการรักษา

 

2007                จัดตั้งทีมงาน

                         TB Clinic เพิ่มแพทย์2 เภสัชกร

                         แยกสถานที่ให้บริการ ให้บริการ เดือนละ ครั้ง

 

  2008             ตั้งคณะกรรมการดูแลระดับอำเภอ            

                        MR.TBปรับปรุงแนวทางการรักษา

                        เน้นการเชื่อมโยงข้อมูลถึงชุมชน

                        ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ ในกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ

 

 2009 - 10     เน้นการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ การใช้ทางด่วน

                       การ Admit 2 สัปดาห์

                       ทำสมุดประจำตัวผู้ป่วย

                       ติดตามการเยี่ยมบ้าน , Case conference, DOT Meeting

                      การให้ขวัญกำลังใจแก่ผู้ป่วยและ จนท.ผู้ดูแล 

 

                     วิธีการดำเนินงาน (กรณีผู้ป่วยรายใหม่)

 

           เริ่มตั้งแต่แผนกผู้ป่วยนอก  พบผู้ป่วยมีประวัติ ไอเรื้อรัง ไข้ น้ำหนักลด  แจกหน้ากากอนามัย หรือ mask  ที่จุด  screen  แยกผู้ป่วยไปตรวจห้องตรวจเบอร์ 5 

 

                         

                           

 

          ห้องบัตร 

    ใช้สัญลักษณ์หนีบกระดาษสีเขียวบน OPD card    

                     

 

    ส่งผู้ป่วย ไปเก็บเสมหะ ณ ห้องเก็บเสมหะที่เตรียมไว้ให้ (ดู ๆ ไปคล้ายห้องส้วมแถว  บ้านเราเลยค่ะ อันนี้ล้อเล่นนะค่ะ)  เสร็จแล้วนำเสมหะไปส่งตรวจห้องตรวจชันสูตร

 

         เมื่อพบว่าผู้ป่วย ผลตรวจเสมหะ ตั้งแต่ 1 + ขึ้นไปให้นอนในโรงพยาบาลที่แผนกผู้ป่วยใน 1 ที่ห้องแยกโรค ซึ่งเป็นห้อง negative pressure room นอนทั้งหมด 14 วัน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายโรคสู่ชุมชน และเพื่อติดตามอาการแทรกซ้อนจากการกินยาของผู้ป่วยด้วยค่ะ

                    

                        

 

                             คลินิกวัณโรค ศุกร์เว้นศุกร์

 

  สถานที่โปร่ง                โล่ง สบาย อากาศถ่ายเทได้ดี

  เตรียมของใช้ให้พร้อม     เตรียมบัตรผู้ป่วยที่นัดไว้ให้พร้อม สมุดประจำตัว บัตรนัด

                                  การเตรียมยา

 

 

                      

 

   ชั่งน้ำหนัก ( เปรี้ยว....ซ๊าาา ) / วัดสัญญาณชีพ

                        

 

        บริหารปอด โดยการนักกายภาพบำบัด น้องโอ๋

 

                        <p> </p>

       ทบทวนความรู้ โดยพี่แหว๋ว คนสวย

 

                     

 

                   บริการ one stop service

 

         พบแพทย์ตรวจ

 

                     

  ออกเยี่ยมผู้ป่วย

   

 

                            รับยาจากเภสัชกร  และนัดครั้งต่อไป

 

        

    

 

 

     ส่วนกิจกรรมอื่น ๆ จะค่อยแนบมาให้ชมนะค่ะ

 

 

หมายเลขบันทึก: 391578เขียนเมื่อ 6 กันยายน 2010 14:25 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 23:29 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้าจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (10)
  • สวัสดีค่ะ
  • แวะมาเยี่ยมเยียนกัน ช่วงนี้ฝนตกทุกวันเลย... รักษาสุขภาพด้วยนะคะ
  • ด้วยความระลึกถึงค่ะ
  • ขอบคุณค่ะ

               

สวัสดีค่ะพี่

หายไปพักนี้ คงติดตามสถานการณ์น้ำท่วม

ด้วยความเป็นห่วงและคิดถึงค่ะ

สวัสดีค่ะคุณบุษรา

ขอบคุณมากเลยค่ะกับความระลึกถึงค่ะ

ได้รับแล้วปลื้มมากเลยค่ะ

 

  • สวัสดีค่ะ
  • สวัสดีปีใหม่ ๒๕๕๔ ขอให้ คุณเพชรน้อย มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง  สุข สดชื่น สมหวัง ดั่งใจปอง ตลอดปี และตลอดไปนะคะ" 
  • ขอบพระคุณค่ะ

                                      

สวัสดีค่ะ sha-รพ.แก่งคอย จังหวัดสระบุรี

- สถานการณ์น้ำท่วมดีขึ้นค่ะ

โชคดีค่ะ คลอดไปก่อน แถมลาคลอด อยู่บ้านสบาย

แต่อดเล็กน้อยเพราะน้ำท่วม

- ขอบคุณค่ะ

สวัสดีค่ะคุณ PHATCHA

 

- สวัสดีปีใหม่เช่นกันค่ะ

 

สวัสดีปีใหม่ค่ะคุณ @..สายธาร..@

สวัสดีคะ ตอนนี้อยากพัฒนา TB clinic ที่ รพ.บ้างคะ รบกวนอยากได้รายละเอียด guildeline การดูแลผู้ป่วย TB clinic คะ ขออนุญาตขอบคุณล่วงหน้าเลยนะคะ __/\__

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท