เมื่อครูภาทิพหนีร้อนไปพึ่งเย็น ตอนที่ ๔ สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น :ดอกไม้รายทาง


                 ภาพดอกไม้ที่สวิตเซอร์แลนด์

         ๒๓ เม.ย.๕๓ ตื่นตาดอกไม้ที่ชาเลต์ของพี่เม้าเมืองซูริค

 

          ต้นแอปเปิ้ล เริ่มผลิใบอ่อน  เห็นกิ่งเก้งก้าง

 

         ขวาบนสุดคือดอกหญ้า แม้มันต่ำเตี้ยแต่เราก็ไม่เหยียบย่ำ

 

        ๒๙ เม.ย.ก่อนจากลา แม้นดอกหญ้าก็งดงาม

 

 

               ด้านล่างภาพดอกไม้ที่สวีเดน

        วันที่ ๓ พ.ค.๕๓ ชื่นชมตั้งแต่ดอกเขียว จนถึงวันที่๑๐ พ.ค. ก็ยิ่งชื่นใจ

 

             ดอกหญ้าที่บ้านของน้องพรและเจอร์รัน

 

                      ดอกไม้หน้าที่พัก  ดอกไม้กับก้อนหิน และต้นไม้ในห้องกระจกที่บ้านน้องพร

 

ดอกไม้ที่สวนเด็กเล่นเมืองโกเทนเบิร์ก  วันแรกที่เปิดงาน(หลังจากหิมะอำลา)

 

          ดอกไม้และแสงสียามค่ำที่สวนเด็กเล่น

ดาวกระจายของไทยในสวีเดน  ดอกหญ้า  และคนบ้ากับทิวลิป

หมายเลขบันทึก: 390375เขียนเมื่อ 2 กันยายน 2010 21:42 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 มิถุนายน 2012 20:33 น. ()สัญญาอนุญาต: สงวนสิทธิ์ทุกประการจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (6)

โอ้โห ตอนผมไปไม่เห็นสวยเท่านี้เลยครับ

 สวัสดีค่ะ  ครูภาทิพไปช่วง ดอกไม้ผลิบานพอดี  สำหรับสวีเดนนั้น เจ้าบ้านบอกว่าต้องการให้ไปช่วง ก.ค.มากกว่าค่ะ  เพราะจะสวยกว่าที่เห็น  ขอบคุณค่ะ

  • ขอบคุณที่นำมาให้ชื่นตาชื่นใจครับ
  • ที่บ้านผม เห็นแต่ดอกต้อยติ่ง  เต็มพรึ่ดไปหมด
  • แต่ดูรวม ๆ แล้วก็สวยพอสู้ได้นะครับ
  • ขอบคุณสำหรับสิ่งดี ๆ

สวัสดีค่ะ  บางครั้งเราหลงใหลของไกลตัวเพราะลืม

เมื่อกลับมาดูบ้านเรา   เราก็ตื่นตาตื่นใจได้เหมือนกัน

เพียงแต่ว่าเรารีบร้อนจนละเลยการพิจารณาสิ่งที่ใกล้ตัวนั้น

เดือนที่แล้วครูภาทิพได้นำนักเรียนนั่งรถไฟย้อนยุค ในงาน ๙๕ ปีเมืองสองท่า   เห็น ดอกต้อยติ่งริมทางรถไฟ  สีม่วงเต็มทุ่ง

สวยงามมาก งามยิ่งกว่าดอกไม้เมืองหนาวที่ครูภาทิพถ่ายมาเสียอีก   เสียดายไม่ได้นำกล้องไปค่ะ

ใช่ค่ะ บางที่เราลืมชมความสวยงามของบ้านเรา ดอกต้อยติ่งที่ขึ้นในสวนลำไยข้างบ้านพร้อมใจกันออกดอกสีม่วงซึ้งปีก่อน Krudala ยังได้ยืนชมความสวยงามแต่ไม่ได้เก็บภาพไว้

ขอบคุณที่ให้ข้อคิดดีๆค่ะ

สวัสดีค่ะ ครูดาหาลา  เช่นเดียวกับดอกดาหลา  ที่ครูภาทิพเห็นมาตั้งแต่สมัยเด็ก ๆ ซึ่งคุณตาข้างบ้านนำพันธ์ มาจากต่างแดนสมัยที่ไปไหนด้วยช้าง  บ้านคุณตาคนนี้มีดอกดาหลา (สมัยก่อนครูภาทิพเรียกกาหลา)  เมื่อถึงวันพระหรือวันไหว้ครู คุณยายแฟนคุณตาให้นำดอกดาหลาไปใช้ครูภาทิพ  ก็อายไม่รู้ดอกอะไรไม่เหมือนชาวบ้านชาวช่องเขา ผ่านไป ๒๐ ปี ดอกดาหลากลายเป็นที่นิยม    .....ต้องรอให้คนอื่นชื่นชมก่อนแล้วเราจึงจะชม  ขอบคุณที่แวะมาทักทายค่ะ

อนุญาตให้แสดงความเห็นได้เฉพาะสมาชิก
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท