เบาหวาน ต้องคุมน้ำตาลในเลือด ถึงดี


อาหก

เบาหวานประเภท 1 หรือ ก็จำเป็น ต้องคุมน้ำตาล

โดยเฉพาะ A1C หลายๆ โรงพยาบาลไม่ตรวจเพราะ ราคาแพง

แต่โปรดทราบ สุนัข ที่เป็นเบาหวาน ไป หาสัตว์แพทย์ ก็ได้ตรวจ A1C

ดังนั้น คนชนบท ควรมี สิทธิ ในการตรวจระดับน้ำตาล โดย A1C

ไม่ใช่ได้แค่ ตรวจ FBS ไม่งั้น คนจนๆ อาจ ได้ รับการรักษาเบาหวาน

สู้หมาคนรวยไม่ได้

จากการศึกษาพบว่า A1C ที่ต่ำลง เป้าหมาย น้อยว่า 6.5 -7 %

จะลด ภาวะแทรกซ้อน ทางตา ทางไต และระบบประสาทลงได้ อย่างมีนัยสำคัญ

การให้ ยาฉีดอินซูิลิน จะทำให้ระดับน้ำตาลลดลงได้ดีมากครับ

ต้นฉบับจาก www.medscape.com

The Importance of Getting to Goal

Like type 1 diabetes, type 2 diabetes is marked by persistent hyperglycemia that can lead to a wide range of serious complications, including nephropathy, neuropathy, and retinopathy. An important long-term goal is to maintain glycemic control to decrease the risk of these microvascular complications.1,2

A substantial body of evidence has demonstrated a link to better glycemic control and improved outcomes.1,3 And the link between higher mean hemoglobin A1C levels and microvascular complications are highly significant.3,4

Injectable therapies often become necessary to achieve glycemic goals over the course of the disease.1,2 Patients are concerned with initiating insulin therapy. Many health care professionals report delaying insulin therapy as long as possible. If injectable therapies are required, physicians must inform and motivate patients to the best of their ability.5-7

References

   1. Nathan DM, Buse JB, Davidson MB, et al. Management of hyperglycemia in type 2 diabetes: a consensus algorithm for the initiation and adjustment of therapy. Diabetes Care. 2006;29(8):1963-1972.

   2. Rodbard HW, Blonde L, Braithwaite SS, et al; AACE Diabetes Mellitus Clinical Practice Task Force. American Association of Clinical Endocrinologists medical guidelines for clinical practice for the management of diabetes mellitus. Endocr Pract. 2007;13(suppl 1):3-68.

   3. American Diabetes Association. Implications of the United Kingdom Prospective Diabetes Study. Diabetes Care. 2002;25(suppl 1):S28-S32.

   4. Stratton IM, Adler AI, Neil HA, et al, for the United Kingdom Prospective Diabetes Study Group. Association of glycaemia with macrovascular and microvascular complications of type 2 diabetes (UKPDS 35): prospective observational study. BMJ. 2000;321(7258):405-412.

   5. Korytkowski M. When oral agents fail: practical barriers to starting insulin. Int J Obes Relat Metab Disord. 2002;26(suppl 3):S18-S24.

   6. Skovlund SE, Peyrot M, for the Diabetes Attitudes, Wishes, and Needs (DAWN) International Advisory Panel. The Diabetes Attitudes, Wishes, and Needs (DAWN) Program: a new approach to improving outcomes of diabetes care. Diabetes Spectr. 2005;18:136-142.

   7. Data on file. Novo Nordisk Inc., Princeton, NJ.

The Importance of Getting to Goal

Like type 1 diabetes, type 2 diabetes is marked by persistent hyperglycemia that can lead to a wide range of serious complications, including nephropathy, neuropathy, and retinopathy. An important long-term goal is to maintain glycemic control to decrease the risk of these microvascular complications.1,2

A substantial body of evidence has demonstrated a link to better glycemic control and improved outcomes.1,3 And the link between higher mean hemoglobin A1C levels and microvascular complications are highly significant.3,4

Injectable therapies often become necessary to achieve glycemic goals over the course of the disease.1,2 Patients are concerned with initiating insulin therapy. Many health care professionals report delaying insulin therapy as long as possible. If injectable therapies are required, physicians must inform and motivate patients to the best of their ability.5-7

References

   1. Nathan DM, Buse JB, Davidson MB, et al. Management of hyperglycemia in type 2 diabetes: a consensus algorithm for the initiation and adjustment of therapy. Diabetes Care. 2006;29(8):1963-1972.

   2. Rodbard HW, Blonde L, Braithwaite SS, et al; AACE Diabetes Mellitus Clinical Practice Task Force. American Association of Clinical Endocrinologists medical guidelines for clinical practice for the management of diabetes mellitus. Endocr Pract. 2007;13(suppl 1):3-68.

   3. American Diabetes Association. Implications of the United Kingdom Prospective Diabetes Study. Diabetes Care. 2002;25(suppl 1):S28-S32.

   4. Stratton IM, Adler AI, Neil HA, et al, for the United Kingdom Prospective Diabetes Study Group. Association of glycaemia with macrovascular and microvascular complications of type 2 diabetes (UKPDS 35): prospective observational study. BMJ. 2000;321(7258):405-412.

   5. Korytkowski M. When oral agents fail: practical barriers to starting insulin. Int J Obes Relat Metab Disord. 2002;26(suppl 3):S18-S24.

   6. Skovlund SE, Peyrot M, for the Diabetes Attitudes, Wishes, and Needs (DAWN) International Advisory Panel. The Diabetes Attitudes, Wishes, and Needs (DAWN) Program: a new approach to improving outcomes of diabetes care. Diabetes Spectr. 2005;18:136-142.

   7. Data on file. Novo Nordisk Inc., Princeton, NJ.

หมายเลขบันทึก: 376589เขียนเมื่อ 18 กรกฎาคม 2010 22:47 น. ()แก้ไขเมื่อ 17 มิถุนายน 2012 10:00 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (3)

สวัสดีค่ะ

 พี่ดาพึ่งทราบว่า สุนัข ก็เป็นเบาหวานก็นึกอยู่ค่ะเพราะแมวก็เป็นโรคไต สัตว์ก็มีโรคเหมือนคนได้เช่นกัน  ในชนบทในหมู่บ้านต่างๆทั่วประเทศเรานี้ มีหน่วยงานที่บอกกล่าวถึงหมู่บ้านบ้างไหมค่ะ ว่าควรป้องกันการเป็นโรคเบาหวานอย่างไรบ้าง คนไทยเป็นมาก 3-4 ล้านคนไม่ธรรมดาแล้ว แล้วคนที่ยังไม่มีชื่อหรือในกลุ่มสำรวลจ ก็ต้องมีอีก ควรทำอย่างไรดี ที่ให้เป็นน้อยลงไม่ใช้มากขึ้น เด็กๆก้เป็นมากขึ้นจนคุณหมอพยาบาล ลำบากใจในการดูแลรักษา เพราะการคุมอาหารเด็ก  จะมีปัญหามากกว่าผู้ใหญ่ โดยเฉพาะเวลาอยู่ที่บ้านของแต่ละคน

            ขอบคุณนะคะ พี่ดาจะเตือน ผู้เลี้ยงสุนัข อย่าให้ขนมหวานมากเพราะทุกบ้านจะดีใจ ที่สุนัขกินขนมเก่ง มากกว่าข้าว

การตรวจเบาหวาน

FBS = การเจาะเลือดแบบอดอาหาร ใช้เลือดปริมาณน้อย

ได้ผลเร็ว แสดงค่าน้ำตาลในเลือด ใน 1 วันที่ผ่านมา

ต้นทุน 15 บาท

ข้อดี สะดวก รวดเร็ว ราคาถูก ใช้ประเมินระดับน้ำตาลในเลือดแต่ละวัน

ข้อด้อย

คนไข้ สามารถโกหกหมอได้ อาจอดข้าวก่อนมาตรวจ 3 วัน น้ำตาลก็ต่ำแล้ว

หรือ บางที น้ำตาลอาจสูง ชั่วคาวได้ ถ้าบังเอิืญ วันตรวจเครียดมาก หรือ กินอาหารหวาน มา

A1C เป็นการตรวจเลือด แบบไม่ต้องอดอาหาร ทำให้รู้ ผล

ระดับ น้ำตาลในเลือด ใน 3 เดือนที่ผ่านมา

ต้นทุน 150-200 บาท

ข้อดี ใช้ทำนายผลการรักษาได้ ไม่ต้องอดอาหาร

เป็นวิธีที่ยอมรับ กันแบบสากล

ข้อด้อย ราคาแพง

ก็เพราะคนไข้โกหก งดอาหารก่อนมาตรวจ แล้วเมื่อไหร่ จะดีขึ้นก็เป็นกันต่อไป คนไข้ที่ไม่มีวินัยในตัวเองเพื่อให้ร่างกาย ดีขึ้นก็ลำบากต่อการรักษา การให้ยาไม่จบสิ้น  ก็มีปัจจัยหลายๆอย่างในแต่ชีวิต ความเป็นอยู่ ของแต่ละคนแตกต่างกัน  ที่จริงการตรวจ A1C  ถูกกว่ายาบางชนิด ก็น่าจะตรวจกันได้มากขึ้นนะคะ ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยเบาหวานก็คงมากขึ้นทุกปี ขอบคุณค่ะ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท