เปิดบันทึก "สังคมอาวุโส (Aging population)"


          จะวัดกันอย่างไรว่าอาวุโส แต่คนในโลกที่มีอายุเกิน 60 ปีจะมีมากขึ้น มากเท่าไหร่ อย่างในเมืองไทย เคยมีไม่ถึง 5% บัดนี้เกิน 10% และอีกไม่นานก็จะเกิน 20%

          ผมไปฮ่องกงมาเมื่อไม่กี่วันนี้ โชคดีโรงแรมพักอยู่ใกล้กับ Kowloon Park ได้เห็นคนสูงอายุของฮ่องกงมาออกกำลังกาย และส่วนมาก 90% จะเป็นสูงอายุ ไม่ค่อยมีคนรุ่นกลางวัยหรือหนุ่มสาว

          การประชุม Davos ครั้งที่แล้ว มีการวิเคราะห์ว่า

65 เรียกว่า Young

75 เรียกว่า กลางวัย

85 เรียกว่า สูงวัย

ประเทศไทย ปัญหาคือ ทัศนคติของคนรุ่นใหม่

  1. ผู้สูงอายุมองว่า 60 คือ แก่ ซึ่งไม่จริง 60 ยังมีพลังมากมาย อาจจะแข็งแรงกว่าบางคนด้วยซ้ำ
  2. อายุเท่าไหร่ไม่สำคัญ อย่าให้คำว่าเกษียณอายุเป็นตัวกำหนด ชีวิตของเรา ตัวเราเป็นผู้กำหนด อย่าให้กฎหมายเป็นตัวกำหนด อยู่ที่เรา
  3. ใน ASIA ยังกำหนดเกษียณอายุที่ 60 น้อยเกินไป ขณะนี้อังกฤษเขาเป็น 66 แล้ว

     สุดท้าย ต้องหางานทำ ช่วยสังคมไม่จำเป็นต้องได้เงินย

     และต้องออกกำลังกายครับ

     ผมเปิด Blog อยากให้ผู้อาวุโสใช้ Internet เป็น ใครสนใจก็ส่ง CV มาถึงผม เราอาจจะได้ร่วมงานกันครับ

จีระ หงส์ลดารมภ์

หมายเลขบันทึก: 373214เขียนเมื่อ 9 กรกฎาคม 2010 09:57 น. ()แก้ไขเมื่อ 19 มิถุนายน 2012 23:39 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (2)

มีตัวเลขล่าสุดจากสำนักงานสถิติแห่งชาติว่าในปี 2568 นี้จะมีคนที่อายุเกิน 60 ปีเพิ่มจาก 11.9% เป็น 21.5% นับว่าเพิ่มขึ้นมาก และก็คงจะต้องฝากให้รัฐบาลหรือผู้ที่เกี่ยวข้องช่วยกันคิดต่อ และวางแผนสำหรับอนาคตของสังคมไทยต่อไปครับ

                           จีระ หงส์ลดารมภ์

จิดาภา คณาวิรัตน์
  1. สนใจยามอายุมากขึ้น จะทำไรให้กิดประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท