hunnnoi
นาย อับดุลฮันนาน มาหะมะ

สาระ ภาษามลายู


วิชาภาษามลายู

สาระการเรียนรู้ ภาษามลายู

มาตรฐาน  ย 1       รู้และเข้าใจกระบวนการฟัง พูด อ่าน และเขียน มีทักษะและเห็นคุณค่าในการใช้ภาษามลายูเพื่อการเรียนรู้  ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งวิทยาการเกี่ยวกับศาสนาอิสลามและการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์

ระดับชั้น

ตัวชี้วัด 

สาระการเรียนรู้

ป.1

1. ออกเสียงพยัญชนะ สระ และบอกความหมายคำศัพท์ที่กำหนด

2. อ่าน  เขียนพยัญชนะ สระ และคำที่กำหนด 

3. สนทนาโดยใช้ประโยคที่กำหนด

 

- พยัญชนะ (huruf)

               huruf  besar

               huruf  kecil

- สระ  (vokal)

- จำนวนนับ 1-10 (bilangan)

 - คำศัพท์เกี่ยวกับอวัยวะ,โรงเรียน, ครอบครัว, อาหาร

-  ประโยคสนทนา บอกเล่าและคำถาม

ป. 2

1. ออกเสียงพยัญชนะ สระ พยางค์และบอกความหมายคำศัพท์ที่กำหนด

2. อ่าน  เขียนพยัญชนะ สระ และคำที่กำหนด 

3. สนทนาโดยใช้ประโยคที่กำหนด

 

 

- พยัญชนะ (huruf)

               huruf  besar

               huruf  kecil

- สระ  (vokal)

- ตัวสะกด (huruf   konsonan)

- จำนวนนับที่เป็นหลักสิบ

 - คำศัพท์เกี่ยวกับเพื่อน, ห้องสมุด, สิ่งแวดล้อม, สัตว์, ผลไม้

-  ประโยคสนทนา บอกเล่า คำถามและคำสั่ง

ป. 3

1. ออกเสียงคำ วลีและประโยคและบอกความหมายคำศัพท์ที่กำหนด

2. อ่านและเขียน คำ วลีและประโยคที่กำหนด 

3. สนทนาโดยใช้ประโยคที่กำหนด

-  คำ วลีและประโยคเกี่ยวกับเพื่อน,     การละเล่น, มัสยิด, สุขภาพ

-  การสนทนาโดยใช้ประโยค บอกเล่า,

   คำถาม, ปฏิเสธ และคำสั่ง

- จำนวนนับที่เป็นหลักร้อย หลักพัน

ป. 4

1. ออกเสียงประโยคและข้อความ และบอกความหมายคำศัพท์ที่กำหนด

2. อ่านและเขียน ประโยคที่ใช้คำสรรพนามและข้อความ ที่กำหนด 

3. สนทนาโดยใช้ประโยคที่กำหนด

-  ประโยคและข้อความ เกี่ยวกับ อาหาร,วันสำคัญ, สถานที่  

- คำสรรพนาม ( Penjodoh bilangan )

-  การสนทนาโดยใช้ประโยค บอกเล่า,

คำถาม, ปฏิเสธ และคำสั่ง

ป. 5

1. ออกเสียงประโยค เรื่องสั้นและบอกความหมายคำศัพท์ที่กำหนด

2. จำแนกประเภทของคำที่กำหนด 

3. สนทนาโดยใช้ประโยคที่กำหนด

 

- ประโยคและเรื่องสั้น เกี่ยวกับตลาด , การคมนาคม, สถานที่ท่องเที่ยว , สิ่งแวดล้อม

- ประเภทของคำ ( คำนาม กริยา คำวิเศษ )

-  การสนทนาโดยใช้ประโยค บอกเล่า,

    คำถาม, ปฏิเสธ และคำสั่ง

ป. 6

1. ออกเสียงประโยค เรื่องสั้นและบอกความหมายคำศัพท์ที่กำหนด

2. จำแนกประเภทของคำที่กำหนด 

3. สนทนาโดยใช้ประโยคที่กำหนด

 

-  ประโยคและเรื่องสั้น เกี่ยวกับกิจวัตรประจำวัน, กีฬา, ความใฝ่ฝัน, งานอดิเรก

- คำนาม (kata nama)

     - คำนามทั่วไป (kata nama am)

     - คำนามเฉพาะ (kata nama khas )

-  คำกริยา (kata  kerja)

      - คำกริยาที่ต้องการกรรม (Kata kerja transitif )

       - คำกริยาที่ไม่ต้องการกรรม (Kata kerja tak transitif )

-  การสนทนาโดยใช้ประโยค บอกเล่า,

คำถาม, ปฏิเสธ และคำสั่ง

ม. 1

1. อ่าน  เขียน จับใจความสำคัญและสรุปเนื้อหาจากข้อความ/บทสนทนา

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายคำศัพท์

3.  แสดงความคิดเห็น เห็นประโยชน์และเลือกใช้ภาษาจากการฟัง พูด อ่าน ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

4. อ่าน และเขียนตามรูปแบบต่างๆ ที่กำหนด

5. มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

- ข้อความและบทสนทนาเกี่ยวกับ

- ผลไม้พื้นเมือง

- วันสำคัญต่างๆ

- ยาเสพติด

-  การเขียนสื่อความตามรูปแบบที่กำหนด

- การบรรยายภาพ

- จดหมาย

- หลักการเติม meN

-  เครื่องหมายต่างๆ (tanda baca)

- koma

- noktah

- tanda soal

- titik  bertindih

- tanda  koma  bertindih

-  มารยาทในการฟัง พูด อ่านและเขียน 

ม. 2

1. อ่าน เขียน เรียงความและย่อความ

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายของกลุ่มคำ/สุภาษิต

3. แสดงความคิดเห็น เห็นประโยชน์และเลือกใช้ภาษาจากการฟัง พูด อ่าน ในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

-  การเขียนสื่อความตามรูปแบบที่กำหนด

- เรียงความ

- ย่อความ

- กลุ่มคำ

     - kata ganti diri

     - kata sendi nama

        - kata hubung

        - kata seru

- สุภาษิต

ม. 3

1. อ่าน เขียน เรื่องสั้นที่กำหนด

2. สนทนา โต้ตอบและบอกความหมายของคำพังเพยและ, สมาส สนธิ

3. แสดงความคิดเห็น เห็นประโยชน์และเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

4. มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

 

- เรื่องสั้นเกี่ยวกับ ครอบครัว , โรงเรียน , ชุมชน .

- หลักการเติม ( Imbuhan PeN )

       - awalan (peN_, ter_, ber_,ke_)

       - akhiran (_i)

       - apitan (di_kan, di_i)

          - sisipan (_el_, _er_, _me_ )

- สมาส สนธิ ( Simpulan Bahasa )

- คำพังเพย (perumpamaan)

-  มารยาทในการฟัง พูด อ่านและเขียน

ม. 4-6

1. อ่าน เขียน เรื่องที่กำหนด

2. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคและวรรณกรรมที่กำหนด

3. พูดตามรูปแบบที่กำหนด

4. เห็นคุณค่าและเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

5. มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

 

- เรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมมลายู , เยาวชน , อาชีพ , ความฝัน , นักปราชญ์อิสลาม

-  การใช้ภาษาสื่อความตามรูปแบบที่กำหนด

- สุนทรพจน์

- โต้วาที

- ปาฐกถา

- Hukum D-M

- วรรณกรรมมลายู ( Kesusasteraan Melayu )

      - กลอน ( Pantun )

-  มารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

ม. 4-6

1. อ่าน เขียน เรื่องที่กำหนด

2. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคและวรรณกรรมที่กำหนด

3. พูดตามรูปแบบที่กำหนด

4. เห็นคุณค่าและเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

 

- เรื่องเกี่ยวกับสถาบันการศึกษา , สถานการณ์ปัจจุบัน , นักคิดอิสลาม .

-  การใช้ภาษาสื่อความตามรูปแบบที่กำหนด

- การจดบันทึก

- วรรณกรรมมลายู ( Kesusasteraan Melayu )

- เรื่องสั้น

- Sajak

-  โครงสร้างประโยค

-  Sinonim&antonim

        - Cakap  ajuk & cakap  pindah

ม. 4-6

1. อ่าน เขียน เรื่องที่กำหนด

2. วิเคราะห์โครงสร้างประโยคและวรรณกรรมที่กำหนด

3. พูดตามรูปแบบที่กำหนด

4. เห็นคุณค่าและเลือกใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม

5. มีมารยาทในการฟัง พูด อ่าน และเขียน

- เรื่องเกี่ยวกับครอบครัว , เศรษฐกิจ , สังคม

, นักประพันธ์มลายู

-  การใช้ภาษาสื่อความตามรูปแบบที่กำหนด

- สื่อสิ่งพิมพ์และเทคโลยี ( Mass Midia )

        - บทความ

 - ข่าว

- วรรณกรรมมลายู ( Kesusasteraan Melayu )

- วรรณกรรมท้องถิ่น ( Cerita Rakyat)

- สำนวนสุภาษิต ( Peribahasa )

-  โครงสร้างประโยคเกี่ยวกับ

       - คำราชาศัพท์ ( Bahasa Diraja )

- มารยาทในการฟัง พูด อ่านและเขียน 

 

 

 

 

  สาระภาษาอาหรับเสริม

 

 

   มาตรฐาน  ส 1          รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา  มีทักษะในการใช้ภาษาที่ถูกต้องตามวัฒนธรรมทางภาษาอาหรับ และมีเจตคติที่ดีต่อภาษาและวัฒนธรรมอื่น

ระดับชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้

ป. 1

1. บอกความแตกต่างระหว่างตัวอักษรคำ ประโยค เสียงพยัญชนะ สระ การสะกดคำ โครงสร้างประโยค และการใช้เครื่องหมายวรรคตอนของภาษาอาหรับกับภาษาไทย

2. บอกความแตกต่างระหว่างระบบการออกเสียงภาษาอาหรับกับภาษาไทย

 3.เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

-  ตัวอักษรนะซัคและริกอะหฺ    

-  ชื่อตัวอักษร เสียงตัวอักษร  ا - อะลิฟ

- พยัญชนะ ا-ب-ت-ث-ج-ح-خ-د-ذ

- สระ  ﹻ ﹷ ﹹ ﹱ ﹿ ﹽ

- พยัญชนะที่ออกเสียงใกล้เคียงกับภาษาไทย

    อ -  ﺍ    บ - ﺏ

- เสียงสระเดี่ยว   ﹷ   ﹻ  ﹹ

- ชนิดของประโยค (บอกเล่า ปฏิเสธ และ    

    คำถาม  )

 جاء خالد/لا يجيء خالد/هل جاء خالد    

- การออกเสียงเน้นหนักในคำ  الشمس

- การออกเสียงเชื่อมโยง เช่น من بعد

-  การออกเสียงท้ายคำ  قد       

ป. 2

 1. กล่าวต้อนรับ ทักทาย  อำลา ขอบคุณ และขอโทษ  โดยใช้ภาษาและกิริยาท่าทางที่เหมาะกับสถานการณ์

2. สนทนาโดยใช้คำใกล้ตัวและประโยคที่กำหนด

3.เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

- สำนวนภาษาที่ใช้ในการทักทายและกล่าวอำลา เช่น

  السلا م عليكم / مع السلا مة

-  สำนวนภาษาที่ใช้ในการกล่าวขอบคุณ

    ขอโทษ เช่น    شكرا / عفوا

-  สำนวนภาษาที่ใช้ในการต้อนรับ ทักทาย

    กล่าวอำลา ขอบคุณ  และขอโทษ เช่น

   اهلا وسهلا / كيف حالك / فى امان الله 

- คำที่ใกล้ตัวนักเรียน เช่น

-         สิ่งของในห้องเรียน เช่น سبورة 

-ในโรงเรียน เช่น  طالب   

- ผัก  ผลไม้  สัตว์ เช่น خضروات ارنب تفاح 

-  ประโยคคำสั่ง เช่น اكتب   

- ประโยคคำถามเช่น  من يكتب

-  ประโยคที่แสดงอารมณ์ความรู้สึกต่าง ๆ 

       ป. 3

1. สนทนาโดยใช้ประโยคเกี่ยวกับสภาพอากาศ  ฤดูกาล สภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ และวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม

2. สนทนาโดยใช้คำใกล้ตัวและประโยคที่กำหนด

3.เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

- สภาพอากาศ เช่น   الجو حار

- ฤดูกาล เช่น   صيف/شتاء/ ربيع/ خريف

- วิถีชีวิต ความเป็นอยู่  เช่น     

     - อาหาร  เครื่องดื่ม سمك مقلى/ ماء بارد

     - การแต่งกาย  ثوب/ جبة

 -  วัฒนธรรมการเรียกชื่อ เช่น عبد الله  بن خالد

-  ประโยคบอกเล่า เช่น يكتب محمد

-  ประโยคปฏิเสธ เช่นيكتب محمد  لم

ป. 4

1. สนทนาโดยใช้ประโยคเกี่ยวกับ กิจกรรมในเทศกาล ฤดูกาล เวลา มาตราวัด ระบบเงินตรา ชีวิตความเป็นอยู่   การแต่งกายอย่างเหมาะสม

2. สนทนาโดยใช้คำและประโยคที่กำหนด

3.เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

-  กิจกรรมในเทศกาลต่างๆ เช่น

عيد الفطر  / عيد الأضحى

-  ชีวิตความเป็นอยู่   การแต่งกาย

-  ฤดูกาล เวลา มาตราวัด ระบบเงินตรา

-  ภูมิประเทศ ธงชาติ เมืองหลวง เช่น

   تايلاند تقع في قارة آسيا

- โคลงกลอน  บัตรอวยพร เช่น

تحي الجلالة الملك العاهل...

- ประโยคนาม (  الجملة الاسمية ) เช่น

أنا طالب , أنت مدرس

ป. 5

1. แสดงกิริยา การใช้คำพูดในการทักทาย การกล่าวอำลาตามวัฒนธรรม

2.  แนะนำตนเองและแนะนำผู้อื่นได้ถูกต้องตามวัฒนธรรม

3. ใช้คำและประโยคที่แสดงมารยาททางสังคม   ได้เหมาะสมกับวัย บุคคล และโอกาส

3.เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

-  การสัมผัสมือ การโอบกอด การโค้ง        

    การโบกมือ  การทักทาย

-   การใช้ท่าทางประกอบการแนะนำโดย

    ใช้ชื่อจริงและชื่อสมมติในภาษาอาหรับ

-  คำพูดที่สุภาพ เช่น

فضيلة الشيخ , من فضلك

-  การตอบรับและปฏิเสธ การเรียก การแสดงความคิดเห็น

- ประโยคกริยา (  الجملة الفعلية ) เช่น

قام محمد , تأكل زينب الأرز

ป. 6

1. ใช้คำและประโยคเกี่ยวกับกีฬา อาหาร เครื่องดื่มและที่อยู่อาศัยได้เหมาะสมกับเวลาและสถานการณ์

2. สรุปเรื่องที่ฟังได้

3.เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

 

 

-  กีฬา เช่น كرة القدم  

 -  นิทาน เรื่องสั้น ข่าว

 -  มารยาทในสังคม   التسليم

  - อาหาร  เครื่องดื่ม เช่น الشربة /الدجاج المشوى

       - ที่อยู่อาศัย เช่น العمارة الشامخة  

 - กริยาตามกาลเวลา เช่น

جلس , يجلس , اجلس

ม. 1

1. ใช้คำและประโยคเกี่ยวกับวันเดือนปี ฤดูกาล เวลา รูปร่าง ขนาด สี ทิศทางและกิริยาอาการต่าง ๆ เหมาะสมกับเวลาและสถานการณ์

2. สรุปเรื่องที่ฟังได้

3.เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

-  คำ กลุ่มคำ ประโยค ที่เกี่ยวกับ

     วัน เดือน ปี เช่น يوم / شهر / سنة 

     ฤดูกาล เช่น فصول / الصيف / الربع

     เวลา เช่น  صباح / ظهر / مساء   

     รูปร่าง เช่น   طويل / قصير / مربع

     ขนาด เช่น  كبير / صغير / متوسط 

     สี เช่น أسود / أحمر / أصفر   

     กิริยาอาการต่าง ๆ   قيام / جلوس / نوم

     กิจวัตรประจำวันเช่นأكل/ شرب / غسل

         ทิศทาง เช่น أمام / خلف / سفلى

-  ขั้นตอนการทำหรือประดิษฐ์สิ่งของ เช่น

        ضع هذا.....ثم.....

 -  ข้อความสั้น ๆ ภาษาอาหรับที่ใช้บรรยายสัญลักษณ์หรือภาพเหตุการณ์

ม. 2

1. บอกอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูดจากน้ำเสียงและกิริยาท่าทาง

2. ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องตามสถานการณ์จำลองต่าง ๆ

3. ปฏิบัติตามคำแนะนำ คำอธิบาย และประกาศที่เป็นสื่อจริงตามสถานการณ์และสถานที่ต่าง ๆ

4. เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

-   ภาษาที่ใช้ตามบทบาทและสถานการณ์

    ต่าง ๆ เช่น

        -หมอกับคนไข้              

       - คนขายของกับลูกค้า 

       - พนักงานเสิร์ฟกับลูกค้า เช่น

ماذا تفضل من العشاء         

       -  แม่กับลูก  เช่นيا أمي أين تذهبين   

-  ประกาศต่าง ๆ  เช่น 

 ممنوع التدخين         ممنوع الاقتراب  ,

-  ภาพยนตร์ หรือ วีดิทัศน์  الرسالة

        - วีดิทัศน์เกี่ยวกับการออกกำลังกาย

           การทำอาหาร

- การบอกทิศทาง เช่น        الطريق على المطعم

- สลากยา  เช่น        جرعة واحدة قبل الطعام

ม. 3

 

 

 

 

 

 

 

 

1.  สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูลพูดแสดงความรู้สึกโดยใช้ภาษาได้เหมาะสม

2. สนทนาแลกเปลี่ยนข้อมูล พูดแสดงความรู้สึกพร้อมทั้งระบุเหตุผล

3. เขียนแสดงความรู้สึกตามหัวข้อที่กำหนดพร้อมทั้งระบุเหตุผล

4. เห็นประโยชน์และนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

-  สถานการณ์จำลอง/เรื่องราวในชีวิตประจำวัน/ประสบการณ์/เหตุการณ์

-  สถานการณ์ที่สื่อให้แสดงออกทาง ความรู้สึก/อารมณ์ต่างๆ เช่น ดีใจ เสียใจ ชอบ/ไม่ชอบและสภาวะทางร่างกาย ด้วยคำ/สำนวน

هل نجحت فى الامتحان . نعم نجحت  

 /وفرحت جدا يعجبنى أن تنجح فى الامتحان

 -  สถานการณ์จำลองที่สื่อความรู้สึกดังต่อไปนี้

      - การแสดงความเข้าใจ/ไม่เข้าใจ เช่น

أنا فهمت يا أستاذ /ما فهمت يا أستاذ      

      - การแสดงความชื่นชมยินดี เช่น

يسرني أن أقابلك      

       - การยอมรับ/ไม่ยอมรับ เช่น

نعم, قبلت / لا أقبل      

      - การแสดงความพอใจ/ไม่พอใจ เช่น

فرحت /كرهت     

       - การแสดงความต้องการ  เช่น

أريد....  / أرغب في...     

-   สถานการณ์ที่แสดงความรู้สึกพร้อมทั้ง    ประโยคที่ให้เหตุผลทั้งการพูดและการเขียน

เช่น       ........ أحبك لأنك

ม. 4

1. บอกใจความสำคัญรายละเอียดเหตุและผล ข้อสรุป อนุมานความจากข้อความ ข้อมูลและข่าวสารจากสื่อสิ่งพิมพ์

2.  บอกใจความสำคัญ เหตุและผล ข้อสรุป อนุมานความ จากข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร จากวิทยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์

3. เห็นคุณค่าและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

-  บทความ เรื่องราวจากสื่อสิ่งพิมพ์ เช่น

     - วารสาร

     - หนังสือพิมพ์

     - แผ่นพับประชาสัมพันธ์

-บทความ  เรื่องราวจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น

     - วิทยุ

     - โทรทัศน์/วีดีทัศน์

     - อินเตอเน็ต     

ม. 5

1 1. เขียนบันทึกข้อความต่าง ๆ

2. บรรยายความรู้สึกเกี่ยวกับ

บุคคลที่ชื่นชอบ สิ่งที่โปรดปราน สถานที่ในท้องถิ่น กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน

3. นำเสนอ ข่าวสารที่น่าสนใจ

ในรูปแบบต่าง ๆ

4. เห็นคุณค่าและนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน

 

 

- ข้อความทางโทรศัพท์ การนัดหมาย การขอโทษ การบอกทิศทาง การเขียนประกาศติดบอร์ดภายในโรงเรียน การขอบคุณ การเชิญ การขอความช่วยเหลือ  เช่น

في تمام الساعة التاسعة صباحا/ أشكرك شكرا جزيلا / معزرة عفوا أدعوك إلى الوليمة / أرجو منك المساعدة

-  ข้อความบรรยายความรู้สึกต่อบุคคล สิ่งของ กิจกรรม ข้อมูลสถานที่ในท้องถิ่น ฯลฯ

-  จดหมายส่วนตัว ไปรษณียบัตร บันทึกประจำวัน  เช่น

يا أبي الفاضل يسرني يا أبي أن أبلغك خبر نجاحي

 فى الامتحان

 -  หัวข้อ/เนื้อหา/รายการโทรทัศน์

   ภาพยนตร์ กีฬา

 -  การจัดบอร์ด ทำวารสาร เสียงตามสายวิทยุโรงเรียน  

ม. 6

1. ท่องจำโคลง กลอน หรือบทละครที่ตัดต่อมาจากเรื่องสั้นที่กำหนด  ด้วยท่วงทำนอง ลีลา น้ำเสียงที่เหมาะสม

2. ร้องอนาชีดและอธิบายความหมาย

3.  รายงานข้อมูลที่น่าสนใจที่ได้จากสื่อต่าง ๆ

- โคลงกลอน บทละครต่างๆ เช่น

طلع البدر علينا....   

-  อนาชีด เทปการแสดงอนาชีด

-  ข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ เช่นหนังสือพิมพ์ นิตยสาร เรื่องสั้น อินเทอร์เน็ต

 

หมายเลขบันทึก: 363406เขียนเมื่อ 3 มิถุนายน 2010 10:19 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 10:43 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท