ก้าวแรกสู่การเป็นนักวิจัย


จงฝึกซ้อม ฝึกซ้อมๆ

ในการเป็นนักวิจัยที่ีดี  ต้องเริ่มจากการอ่านงานวิจัยดีๆ  มากๆ  ก่อน

ซึ่งหาอ่านฟรีได้มากมาย เช่นที่ JAMA or  highwire.stanford.edu

แต่งานวิจัยดีๆ  มักเป็น ภาษาอังกฤษ ที่หลายคนไม่ยอมอ่าน

น่าเสียดายมากๆ  สมัยก่อน ภาษาอังกฤษผมห่วยมาก ไม่ได้เกรด  D  ก็ Fไปเลย

ตอนนี้ อ่านงานวิจัยภาษาอังกฤษ ด้านการแพทย์สบายมากๆ ครับ

การอ่านงานวิจัยบ่อยๆ    ทำให้ผมมีความรู้มาก  จนได้เปรียบเพื่อนๆ หลายคน

ได้ไอเดียทำงานใหม่ๆ   มากมาย หลายงานสมัยก่อนทำงานแบบหลงทาง

เดี๋ยวนี้ งานด้านเภสัชกรรม ของผม ทำอย่างไม่หลงทางอีกแล้ว

และงาน มักทำอย่า่งได้ผลน่าพอใจเสียด้วยครับ

ทำให้รู้สึก  มั่นใจ  สบายใจ และฮึกเหิมมากๆ ครับ

คำสำคัญ (Tags): #rct#r2r
หมายเลขบันทึก: 277524เขียนเมื่อ 17 กรกฎาคม 2009 21:09 น. ()แก้ไขเมื่อ 11 มิถุนายน 2012 13:34 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (4)

Dsc00297

อ่านมาก รู้มาก ขอให้มีความสุขมากๆ ค่ะ

ยินดีด้วยค่ะ หลายคนพอฝึกทำวิจัยพวกนักวิชาการจะวิพากษ์ ระเบียบวิธีวิจัย กลุ่มตัวอย่างต้องเท่านั้นเท่านี้ ปัญหาคืออะไร ??? จนชาวบ้านอย่างดิฉันต้องร้องเพลง ถอย...ดีกว่า แต่พออ่านของนักวิชาการหย่าย หย่าย อ่านไม่ค่อยจะรู้เรื่องเพราะทฤษฎีมาก ถึงมากที่สุด

เคยถามคนที่เป็น ดร.ว่าทำไมวิทยานิพนธ์ หรือ งานวิจัย ไม่เขียนคล้าย ๆ นวนิยาย จะทำให้คนอ่านมากขึ้นนะคะ ชักบ่นมากไปแล้ว บ๋าย บาย

การบ่มเพาะนักวิจัยหน้าใหม่

ไม่ใช่การวิจารณิ

ไม่ใช่การตำหนิ

แต่เป็น การให้กำลังใจ

การชื่นชม

การ หาจุดดี ของนักวิจัย

ทำให้บรรยกาศไม่เครียด

ซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพการเรียนดีขึ้นครับ

แต่ตอนนี้ พวกนักวิชาการ จะเน้นตำหนิ....

ซึ่ง ข้อมูลวิชาการยืนยันว่าไม่ค่อยได้ผล ...

สงสัยวิชาการไม่เข้มพอครับ

สวัสดีครับ

เรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูน เก็บเกี่ยว เพื่อใช้งาน

อ่านบ่อยๆ ทำบ่อยๆ ทำมาก ได้มาก ย่อมเกิดทักษะ ครับ

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท