จิตวิญญาณของความเป็นครู


จิตวิญญาณเป็นความรู้สึกนึกคิด

ที่เกิดจาก

 ตระหนัก                                  ศรัทธา

              (เห็นคุณค่าตนเอง)              (เชื่อ + เคารพในความเป็นตนเอง)

เป็นความเชื่อที่อยู่เหนือเหตุผล

ในความสำคัญ ความมีคุณค่าของบทบาทหน้าที่ในการพัฒนาเยาวชนมีความผูกพัน ความมุ่งมั่นกระทำหน้าที่ให้เกิดความสัมฤทธิ์สูงสุด ซึ่งความรู้สึกเช่นนี้ เรียกว่า

จิตวิญญาณของความเป็นครู

(พะนอม แก้วกำเนิด.  2552)

ครูเป็นผู้ประกอบวิชาชีพชั้นสูง มีการกลั่นกรองสรรหา

  การศึกษาระยะยาว

หลักวิชาการ                                                  คุณธรรม

หลักวิชาชีพ                                                   จริยธรรม

จรรยาบรรณวิชาชีพครู  9 ข้อ

1.  รักและเมตตาศิษย์  โดยให้ความเอาใจใส่ ช่วยเหลือส่งเสริม กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า

2.  ครูต้องอบรม สั่งสอนฝึกฝนสร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเ่ต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์

3.  ครูต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์

4.  ครุต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจอารมณ์

5.  ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างในการปฏิบัติหน้าที่ปกติ และไม่ใช้ให้ศิษย์กระทำการใดๆ อันเป็นการผลประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ

6.  ครูต้องพัฒนาตนเองทางวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจสังคมและการเมืองอยู่เสมอ

7.  ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครูและเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรวิชาชีพครู

8.  ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์

9.  ครูพึงประพฤติปฏิบัิติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

ความต้องการขั้นพื้นฐานของมนุษย์

ด้านวัตถุ                  ด้านจิตใจ

                                Emotion Need 

                                    ความปลอดภัย       

                                                                         ความรัก

                                                                         ความอบอุ่น

                                                                         ความสำเร็จ

                                                                         การยกย่อง

                                                                         ชมเชย

ขาดความรัก

ผู้ที่ไม่ได้รับการตอบสนองความต้องการ

ทำให้เกิดความคับข้องใจ

เกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบน

ระบายออกหาสิ่งอื่นทดแทน

เกเร ก้าวร้าว หนี แยกตัว เศร้าซึม

พึ่งพา ติดยาเสพติด

ครูจึงต้องมี      สังคหวัตถุธรรม

          ทาน         ให้ความรัก

            ปิยวาจา             ความอบอุ่น

           อัตถจริยา              ความสำเร็จ

                 สมานัตตา                        การยกย่อง ชมเชย

หน้าที่ของครู

อบรม

คุณธรรม                    จริยธรรม

 สอดแทรก               กิจกรรม              แนะนำ

ในวิชาที่สอน             การศึกษา           ตักเตือน

                        ทุกแขนง

                          มี KAP                ตามโอกาส และสถานการณ์

                

                                                       


หมายเลขบันทึก: 259446เขียนเมื่อ 5 พฤษภาคม 2009 19:04 น. ()แก้ไขเมื่อ 6 กันยายน 2013 20:42 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท