คำในภาษาอิสาน


คำพื้นเมืองเก่าๆ

มีคำพื้นเมืองเก่าๆ ของคนอิสานอยู่คำหนึ่ง ที่อยากเอามาบันทึกไว้ คือ

  สอน

หมายถึง   ทำตาม   เลียนแบบ   เถียงต่อปากต่อคำ 

เช่น  พ่อแม่เว้า มักสอนควม เดี๋ยวเถอะ = พ่อแม่พูดอะไรแล้วชอบเถียง เดี๋ยวเถอะ

       เพิ่นสอนเขาฮ้องเพลง บ่คือปานได๋ = เขาร้องเพลงเลียนแบบ แต่ไม่เหมือนเท่าไหร่เลย

       อย่ามาสอนควมเว้า =  ไม่ต้องมาพูดตาม  

 

ซึ่งจะตรงกันข้ามกับภาษาไทยกลาง  สอน  หมายถึงบอกให้ทำตาม แนะนำให้  สั่งให้ 

เหมือนกับคำว่า  แพ้  ทางอิสานหมายถึง  ชนะ หรือได้เปรียบ  เป็นต้น

 

 

 

หมายเลขบันทึก: 254348เขียนเมื่อ 8 เมษายน 2009 12:56 น. ()แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 06:08 น. ()สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกันจำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (7)

สวัสดีครับ ท่านพิมล

แม่นแล่ว ขะรับ

  • ชื่นชมกับภาษาลาว
  • กินข่าวบ้านโต อย่าโสควมเพิ่น

เรียนท่าน ศรีกมล

ทุกวันนี้มันต้องปรับแล้วครับ

กินเข่าโต ต้องโสเรื่องบ้านเมือง เฮ็ดจังได๋สิไปรอด ครับ

อัศจรรย์ใจกุ้งสิกุมกินปลาบึกไง

ปลาซิวไล่สวบแข่หนีไปหลี้หลืบหิน

  • สวัสดีค่ะ อาจารย์ลุงวอ
  • คำว่า แพ้ ไม่ค่อยห็นใช้กัน ทั่วไป ใช่มั้ยคะ
  • ขอบคุณค่ะ
  1. ใจประสงค์ต่อไม้จั่งได้แบกเลื่อยมา ประสงค์ปลาในวังจั่งแต่หวีงลงซ้อน ใจประสงค์งามงอนจั่งเก็บมอนเข้ามาไส่ ใจประสงค์คนผู้ไคจั่งได้ดั้นด้นมาพ้อหน้า ตั่วพะนาง
พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท