นวัตกรรมการเรียนการสอนทางอุดมศึกษา


นวัตกรรมการเรียนการสอนทางอุดมศึกษา

นวัตกรรมการเรียนการสอนทางอุดมศึกษา

1. ศ.ดร.ศรีศักดิ จามรมาน21. บทนําการสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตด้วยเครืองช่วยค้น(Search Engine) บนอินเทอร์เน็ตนั้น เมือใช้คําสําคัญว่า“education”จะปรากฎผลลัพธ์ถึง3,754,186 รายการ ดังแสดงในรูปที 1 และเมือเปลี่ยนเป็นคําว่า“distance education” ผลลัพธ์ได้ลดลงเป็น3,502,562 รายการ ดังแสดงในรูปที

2 ซึงถ้าหากต้องการค้นคว้าเพิมเติมก็ต้องลองเข้าไปในเว็บทีเกียวข้องต่างๆ ตัวอย่างเช่น เว็บของสมาคมการศึกษาทางไกลแห่งสหรัฐอเมริกา(ADEC = American Distance Education Consortium) ดังแสดงในรูปที

3.หรือเว็บความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านการศึกษาทางไกล(International Cooperation on Distance Education) ดังแสดงในรูปที 4 เป็นต้นเว็บของสมาคมการศึกษาทางไกลแห่งสหรัฐอเมริกา นําเสนอสารสนเทศเกี่ยวกับแหล่งข้อมูลออนไลน์สื่อการเรียนการสอน โปรแกรมในระดับชาติและการให้ทุน แนวโน้มของอินเทอร์เน็ต มาตรฐานและการวางแผนความร่วมมือระหว่างประเทศ และมหาวิทยาลัยเสมือนจริง เป็นต้น ส่วนเว็บความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านการศึกษาทางไกล เป็นเว็บทีให้รายละเอียดเกี่ยวกับองค์กรพันธมิตรระหว่างประเทศ การศึกษาระดับสูง และการสนับสนุนในระดับรัฐบาลด้านการส่งเสริมการศึกษาระดับชาตินอกจากนีเว็บอีกแห่งหนึงทีน่าสนใจคือ เว็บคลังความรู้ด้านการศึกษาทางไกล (Distance Education Clearinghouse) ดังแสดงในรูปที 5 ข้อมูลในเว็บประกอบไปด้วยข่าว บทความ รายชื่อหนังสือ การประชุม การให้ทุน และกฎหมาย เป็นต้นนอกจากนั้นยังมีข้อมูลจํานวนมากเกี่ยวกับการศึกษาทางไกล การประชุมทางไกล ซอฟต์แวร์ประยุกต์ในการใช้สื่อการโต้ตอบสองทางประเภทต่างๆ การใช้คอมพิวเตอร์ร่วมกันในกลุ่ม การสือสารทางไกลการให้บริการออนไลน์สิงพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์และการแพทย์ทางไกลเป็นต้น

รูปที 1 ข้อมูลทีได้จากการสืบค้นคําว่า“Education”รูปที 2 ข้อมูลทีได้จากการสืบค้นคําว่า“Distance

2 -รูปที 4 เว็บความร่วมมือระหว่างประเทศในด้านการศึกษาทางไกลรูปที 5 เว็บคลังความรู้ด้านการศึกษาทางไกลในทางทฤษฎีแล้ว สือทีใช้ในการศึกษาทางไกลมีมากมาย อย่างเช่น จดหมาย หนังสือ เทปคาสเซทเทปวิดีโอ แผ่นซีดี โทรทัศน์ และดาวเทียม เป็นต้น แต่สําหรับการศึกษาในศตวรรษที 21 นั้น อินเทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีทีเหมาะสมทีสุด อันเนืองมาจากการใช้งานง่ายและค่าใช้จ่ายไม่สูงนักในหัวข้อทีสองของบทความนีจะกล่าวถึงประวัติวิทยาการของอินเทอร์เน็ต นั้นคือ จะได้กล่าวถึง ยุคก่อนกําเนิดอินเทอร์เน็ต กําเนิดอินเทอร์เน็ต ยีสิบปีแรกของอินเทอร์เน็ต สมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติ การจดทะเบียนรูปที 3 สมาคมการศึกษาทางไกลแห่งสหรัฐอเมริกาPDF +

3 -อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยโดยสังเขป ในหัวข้อทีสามของบทความนี้จะกล่าวถึงอินเทอร์เน็ตในการศึกษา นั้นคือ จะได้กล่าวถึงการศึกษาทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต หลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต และข้อดีและข้อเสียของการศึกษาทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ต ในหัวข้อทีสีของบทความนี้จะกล่าวถึงอีเลิร์นนิงในต่างประเทศ นั้นคือ ตัวอย่างเว็บเพจเพื่อการศึกษาทางไกลผ่านอินเทอร์เน็ตในระดับอุดมศึกษา ในหัวข้อทีห้าของบทความนีจะกล่าวถึงหลักสูตรอีเลิร์นนิงทีได้รับการประกาศในราชกิจจานุเบกษา นั้นคือ ร่างกฎหมายอีเลิร์นนิงฉบับแรกของไทย การสัมมนาพิจารณ์ร่างกฎหมายอีเลิร์นนิง การเสนอร่างกฎหมายอีเลิร์นนิงรัฐมนตรีทีเกี่ยวข้อง 5 ท่าน และระยะเวลา 3 ปี กฎหมายอีเลิร์นนิงประกาศลงในราชกิจจานุเบกษา ในหัวข้อทีหกของบทความนี้จะกล่าวถึงอีเลิร์นนิงในประเทศไทย นั้นคือ ศรีศักดิ จามรมาน มองอนาคตอีเลิร์นนิงไทย อีเลิร์นนิงไทยโต 100% ย้อนดูบทเรียนสหรัฐ ปริญญาโท-บริหารบูมสุด ไทยภาพทับซ้อนสหรัฐ และหลักสูตรปริญญาอีเลิร์นนิงมหาวิทยาลัยไทยทีเปิดสอนในปี 2549 และในหัวข้อทีหกของบทความนีจะกล่าวถึงตัวอย่างอีเลิร์นนิงทีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ นั้นคือ ศูนย์แห่งความเป็นเลิศด้านการศึกษาไอทีและวิทยาลัยการศึกษาทางไกลอินเทอร์เน็ต2. ประวัติวิวัฒนาการของอินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต คือ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีใหญ่ทีสุดและมีผู้ใช้มากทีสุดในโลก อินเทอร์เน็ตเป็นตัวอย่างทีดีทีสุดของเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ “ไอที (IT = Information Technology)” โดยมีองค์ประกอบสําคัญ 2 ส่วนคือ

1. ส่วนทีหนึงเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทีเชือมโยงกันทัวโลกเป็นร้อยล้านเครือง ส่วนทีสองเป็นสารสนเทศ หรือข้อมูลทีเก็บไว้ในเครืองคอมพิวเตอร์ทังหลายในเครือข่าย จากคอมพิวเตอร์เครืองใดเครืองหนึงก็สามารถเปิดดูข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครืองอืนได้ทังเครือข่าย นั้นคือ อินเทอร์เน็ตช่วยย่อโลกทังใบให้มาอยู่ในฝ่ามือของเรา หรืออินเทอร์เน็ตทําให้เราสามารถเรียกหาข้อมูลได้ด้วยปลายนิว (Information at Your Finger Tip)

2. ยุคก่อนกําเนิดอินเทอร์เน็ตอาจจะพอกล่าวได้ว่าแรงบันดาลใจให้สหรัฐอเมริกาคิดพัฒนาระบบทีต่อมากลายเป็นอินเทอร์เน็ตนัน เริมมาจากการทีสหภาพโซเวียตส่งดาวเทียม “สปุตนิก (Spudnik)” ทําให้ประธานาธิบดี ดไวท์ ดี ไอเซนฮาว ของสหรัฐอเมริกาต้องประกาศตังโครงการ “ดาร์ปา(DARPA = Defense Advanced Research Projects Agency)” หรือองค์กรวิจัยชันสูงทางการทหารเพือแข่งขันกับโซเวียต โดยโครงการดาร์ปามีกระทรวงกลาโหมเป็นผู้รับผิดชอบ ต่อมาใน พ.ศ. 2504 ประธานาธิบดี จอห์น เอฟ เคเนดี ได้ประกาศโครงการ “อพอลโล (Apollo)” ให้ตามทันและลําหน้าโซเวียตให้ได้ในสมัยของท่านประธานาธิบดีลีโอนาร์ด คลายน์ร็อค (Leonard Kleinrock) เป็นผู้พิมพ์บทความแพ็คเกต สวิตชิง (Packet Swithching) และเสนอการส่งข้อมูลโดยแบ่งข้อมูล เป็นข้อมูลชินเล็กๆ เรียกว่า “แพคเก็ต”แล้วส่งแต่ละชินไปตามเส้นทางทีสะดวกหลาย ๆ ทางเมือถึงปลายทางก็รวมเข้าเป็นข้อมูลชินเดิม ใน พ.ศ. 2505 เจ ซี อาร์ ลิคไลเดอร์ และ ดับบลิว คลาค (J.C.R. Lickliderและ W.Clark) พิมพ์บทความเสนอหลักการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึงเป็นต้นแบบของอินเทอร์เน็ต ใน พ.ศ. 2507 ลีโอนาร์ด คลายน์ร็อค พิมพ์หนังสือเสนอทฤษฎีและการออกแบบเครือข่ายแพคเก็ต ซึงถือเป็นรากฐานของระบบอินเทอร์เน็ต ส่วนพอล บาแรน (Paul Baran) ก็พิมพ์บทความเรืองการใช้แพคเก็ตอย่างปลอดภัย ทําให้เข้าใจผิดกันว่าทหารกําลังสร้างระบบอินเทอร์เน็ตทีปลอดภัยจากสงครามนิวเคลียร์และไอแวน ซัตเธอร์แลนด์ (Ivan Sutherland) ในฐานะผู้อํานวยการอาร์ปาได้ให้ทุนวิจัยเครือข่ายแก่เอ็มไอที พ.ศ. 2508 เกิดการทดลองเชือมโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายเป็นครังแรกในโลกทีเอ็มไอทีโดยนําเครืองคอมพิวเตอร์ 2 เครืองมาเชือมโยงกันและสือสารโดยใช้ระบบแพคเก็ต พ.ศ. 2510 ลารี โรเบิร์ต (Larry Roberts) ซึงได้รับขนานนามว่าเป็นบิดาของอาร์ปาเน็ตจัดประชุมเรือง“การออกแบบอาร์ปาเน็ต”และตีพิมพ์เอกสาร “การออกแบบเครือข่ายอาร์ปาเน็ต”เป็นครังแรกPDF created with pdfFactory Pro trial version

4 -2.2 กําเนิดอินเทอร์เน็ตใน พ.ศ. 2512 อินเทอร์เน็ตถือกําเนิดขึนในชือของอาร์ปาเน็ต (ส่วนชืออินเทอร์เน็ตนันเกิดขึนเมือ พ.ศ. 2517) โดยการติดตังคอมพิวเตอร์เครืองแรกทีมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียทีลอสแองเจลิส หรือ “ยูซีแอลเอ (UCLA = University of California at Los Angeles)”แล้วเชือมโยงอีก 3 เครือง รวมเป็นเครือข่าย 4 เครืองทีมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียแห่งลอสแองเจลิส มหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียแห่งซานตาบาร์บารา และมหาวิทยาลัย ยูทาห์ใน พ.ศ. 2512 นันได้เกิดข้อตกลงกํากับอินเทอร์เน็ตหรือ “อาร์เอฟซี (RFC =Request for Comment)”เรืองแรกคือ เรืองซอฟต์แวร์สําหรับใช้ในแม่ข่าย (Host Software)เอ็นเอสเอฟได้มอบหมายให้ “ยูเอสซี (USC = University of Southern California)”โดย ดร. จอน พอสเทล (Jon Postel)ดังแสดงในรูปที 2.1 เป็นผู้ดูแลระบบเชือมโยงชืออาณาเขตรูปที 2.1 ดร. จอน พอสเทล กับ ศ. ศรีศักดิรูปที 2.2 ดร.วินท์ เซิร์ฟ กับ ศ. ศรีศักดิ2.3 ยีสิบปีแรกของอินเทอร์เน็ตใน พ.ศ. 2514 อาร์ปาเน็ตขยายเป็น 14 จุดและต่อมาขยายเป็น 19 จุด ใน พ.ศ. 2515 เรย์ ทอมลินสัน(RayTomlinson)เสนอระบบอีเมล์ (E-mail) จอน พอสเทล ประกาศ “อาร์เอฟซี 354”เรืองการส่งแฟ้มข้อมูลหรือเอฟทีพี (FTP)และโรเบิร์ต คาห์น (Robert Kahn)จัดสาธิตระบบอาร์ปาเน็ตให้กับสาธารณชนเป็นครังแรกใน พ.ศ. 2516 เริมมีสถาบันต่าง ๆ ถึง 30 แห่ง เชือมต่อกับเครือข่ายอาร์ปาเน็ต (ARPANET)ตัวอย่างสถาบันในภาคอุตสาหกรรม อาทิ บีบีเอ็น (BBN) ซีร็อก (Xerox) พาร์ค (PARC) และมิทรี (MITRE)เป็นต้น ตัวอย่างหน่วยงานของรัฐ อาทิ องค์การนาซ่า และสํานักงานมาตรฐานแห่งชาติ เป็นต้น ใน พ.ศ. 2516 นัน วินท์ เซิร์ฟ (Vint Cerf) และบ๊อบ คาห์น (Bob Kahn) ได้เสนอโปรโตคอลการเชือมต่อคอมพิวเตอร์ด้วย ซึงต่อมาเป็นมาตรฐานอินเทอร์เน็ต ต่อมามีการกล่าวขานกันว่า วินท์ เซิร์ฟ เป็นบิดาอินเทอร์เน็ต ดังแสดงในรูปที 2.2ใน พ.ศ. 2517 วินท์ เซิร์ฟ และ บ๊อบ คาห์น ได้บัญญัติศัพท์คําว่า “อินเทอร์เน็ต”ขึนใช้เป็นครังแรก ถ้านับถึง พ.ศ. 2550 คําว่า “อินเทอร์เน็ต” ก็มีใช้เพียง 33 ปีเท่านัน ใน พ.ศ. 2520 วินท์ เซิร์ฟ และบ๊อบ คาร์น จัดสาธิตอินเทอร์เน็ตนานาชาติครังแรก เชือมต่อแคลิฟอร์เนียกับลอนดอน ลอนดอนกับเวอร์จิเนีย และเวอร์จิเนียกับแคลิฟอร์เนียใน พ.ศ. 2522 เดฟ ครอกเกอร์ (Dave Crocker) กับ จอห์น วิททาล (John Vittal)ประกาศ “อาร์เอฟซี 733”เรืองข้อกําหนดอีเมล์ ต่อมาใน พ.ศ. 2523 อาร์ปาเน็ตขยายเป็น 70 จุด PDF created with pdfFactory

5 -แล้วใน พ.ศ. 2524 ก็มีการก่อตังคณะกรรมการสถาปัตยกรรมอินเทอร์เน็ต หรือไอเอบี (IAB =Internet Architecture Board) ขึนใน พ.ศ. 2526 ได้มีการแยกเครือข่ายทหาร ใช้ชือว่า “มิลเน็ต (Milnet)”จากอาร์ปาเน็ต ทําให้อาร์ปาเน็ตเหลือ 68 จุดและมิลเน็ตมี 45 จุด ในปีนัน จอน พอสเทล และคณะประกาศระบบชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ตหรือ “ดีเอ็นเอส (DNS =Domain Name System)”และประกาศให้ใช้ ดอตอีดียู (.edu)ดอตกอฟ (.gov) ดอตคอม (.com) ดอตมิล (.mil) ดอตออร์ก (.org) และดอตเน็ต (.net)โดยมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ เป็นหน่วยงานแห่งแรกในเมืองไทยทีใช้ดอตอีดียู โดย ศ.ดร. ศรีศักดิ เป็นผู้ขอจดทะเบียน “เอยูดอตอีดียู (au.edu)”ใน พ.ศ. 2529 ได้มีการก่อตังคณะทํางานด้านวิศวกรรมอินเทอร์เน็ต หรือ “ไออีทีเอฟ (IETF =InternetEngineering Task Force)”ขึน และ เอ็นเอสเอฟได้จัดตังแม่ข่ายใหญ่เชือมโยงซูเปอร์คอมพิวเตอร์ 5 เครืองเข้ากับคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้วยความเร็ว 56,000 บิตต่อวินาทีใน พ.ศ. 2532 เอ็นเอสเอฟเปิดให้ธุรกิจใช้อีเมล์ แล้วใน พ.ศ. 2534 เอ็นเอสเอฟ เปิดให้มีการใช้อินเทอร์เน็ตเพือการค้า ถ้านับถึง พ.ศ. 2550 ก็มีการใช้อินเทอร์เน็ตเพือการค้าเพียง 16 ปี แต่อินเทอร์เน็ตมีผลกระทบต่อธุรกิจอย่างมากมาย โดยกล่าวกันว่า “ถ้าท่านไม่วางแผนทีจะใช้อินเทอร์เน็ตในธุรกิจของท่าน ท่านก็กําลังวางแผนทีจะเลิกทําธุรกิจ (If you are not planning to use the Internet in your business, you are planning to be out of business.)” หรืออาจจะกล่าวว่า “อินเทอร์เน็ตเป็นระบบประสาทกลางของทุกองค์กร องค์กรใดไม่มีระบบประสาทกลาง องค์กรนันก็ไม่สามารถแข่งขันกับใครได้ (The Internet is the central nervous system of all organizations. Any organization without the central nervous system cannot compete with any other organizations.)” 2.4 สมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติหลังจากทีมีระบบอินเทอร์เน็ตเกิดขึนแล้ว มีหน่วยงานหลักทีช่วยดูแลรับผิดชอบกิจการอินเทอร์เน็ต คือ สมาคมอินเทอร์เน็ต เรียกย่อว่า “ไอซอค (ISOC =Internet SOCiety)” ปัจจุบันมีสมาชิกเป็นองค์กรกว่า 100 องค์กร และมีสมาชิกประเภทบุคคลกว่า 20,000 รายในกว่า 180 ประเทศผู้เขียนเข้าอินเทอร์เน็ตวันละ 3 เวลา ก่อนหรือหลังอาหารได้เห็นประกาศว่า มีการตังสมาคมอินเทอร์เน็ตทีสหรัฐอเมริกา โดยมี วินท์ เซิร์ฟ เป็นนายกก่อตัง ผู้เขียนก็อีเมล์ไปขอให้มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นสมาชิกก่อตัง แล้วไปกราบเรียนของบประมาณจาก ภราดา ดร.มาร์ติน ซึงท่านก็กรุณาตกลงมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นสมาชิกก่อตังของสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติ โดยทีในเอเชียอาคเนย์ ไม่ว่าจะเป็น สิงคโปร์มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ก็ตามไม่มีประเทศใดเป็นสมาชิกก่อตังของสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติเลย มีเฉพาะประเทศไทยเท่านัน ดังแสดงในรูปที 2.3รูปที 2.3 มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญเป็นสมาชิกก่อตังสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติPDF created with pdfFactory

6 -เมือ พ.ศ. 2539 สมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติได้อนุมัติการจัดตังสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย โดยมีผู้เขียนเป็นนายกก่อตังชุดแรก มีข้อมูลดังแสดงในรูปที 2.4 และกรรมการบริหารดังแสดงในรูปที 2.5 รูปที 2.4 สมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทยรูปที 2.5 คณะกรรมการบริหาร สมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทยเมือ พ.ศ. 2540 ในฐานะนายกสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย ผู้เขียนคาดว่า เมืออินเทอร์เน็ตเจริญเติบโตมากขึนและผู้ใช้มากขึน ก็จะมีบางคนออกนอกลู่นอกทางทําให้มีปัญหาขึน จึงสมควรจะมีกฎหมายด้านอินเทอร์เน็ตผู้เขียนเสนอคณะกรรมการบริหารสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทย และคณะกรรมการให้ความเห็นชอบแต่งตังคณะกรรมการยกร่างกฎหมายส่งเสริมอินเทอร์เน็ต โดยมี ภราดา ดร.ประทีป มาร์ติน โกมลมาศ และผู้เขียนเป็นทีปรึกษา มีคุณเหรียญชัย เรียววิไลสุข ขณะนันเป็นรองอธิบดีกรมไปรษณีย์โทรเลข และต่อมาเป็นอธิบดี เป็นประธาน มีการประชุมยกร่างกฎหมายและจัดประชาพิจารณ์ ดังแสดงในรูปที 2.6ปรากฏว่า นักข่าวหนังสือพิมพ์บางกอกโพสต์ไม่เห็นด้วยกับการมีกฎหมายอินเทอร์เน็ต อ้างว่าอินเทอร์เน็ตเป็นเสรี ต้องเปิดเสรี และไม่มีกฎหมาย สํานักข่าวรอยเตอร์ สํานักข่าวซีเอ็นเอ็นมาสัมภาษณ์ผู้เขียน ออกข่าวไปทัวโลกว่า “ศ.ดร. ศรีศักดิ จามรมาน คนไทยคนแรกทีจบปริญญาเอกด้านคอมพิวเตอร์”ตอนนีมาเป็นนายกสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติ สาขาประเทศไทย สนับสนุนการร่างกฎหมายอินเทอร์เน็ต ทางสมาคมแม่ไม่เห็นด้วยและมีมติให้สาขาประเทศไทยหยุดดําเนินกิจการ ผู้เขียนในฐานะนายกสมาคมคอมพิวเตอร์นานาชาติเอซีเอ็ม สาขาประเทศไทย (ACM = Association for Computing Machinery) ก็เลยเสนอไปยังสํานักงานใหญ่ในสหรัฐอเมริกาเอซีเอ็มเพือขอและได้รับอนุมัติให้สาขาประเทศไทยของเอซีเอ็มสนับสนุนสถานทีประชุมและเลขานุการดําเนินการยกร่างกฎหมายอินเทอร์เน็ตต่อไปPDF created

7 -รูปที 2.6 สัมมนาประชาพิจารณ์“ร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมกิจการอินเตอร์เน็ต”ผู้เขียนไม่เคยคิดจะเป็นกรรมการบริหารสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติมาก่อน คิดว่าเป็นนายกสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติสาขาประเทศไทยก็พอแล้ว แต่เมือเกิดปัญหาว่า กรรมการบริหารสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติไม่เห็นด้วยกับการยกร่างกฎหมายอินเทอร์เน็ตของสาขาประเทศไทย ผู้เขียนก็เลยจําเป็นต้องทําแบบฝรังทีว่า “สู้จากข้างนอกไม่ได้ก็ไปสู้ข้างใน (If you cannot fight from outside, join them and fight from inside.)”คณะกรรมการสรรหาผู้สมัครเป็นกรรมการบริหารสมาคมอินเทอร์เน็ต ประกอบด้วยกรรมการทีดํารงตําแหน่งอยู่ขณะนัน คือ พวกทีคัดค้านผู้เขียนจึงเป็นการแน่นอนทีท่านจะไม่เสนอชือผู้เขียน แต่ผู้เขียนอ่านกฎระเบียบแล้วพบว่า สมาชิกจํานวน 20 ท่าน สามารถส่งชือใครเข้าแข่งขันก็ได้ ผู้เขียนจึงหาสมาชิก 20 ท่าน ช่วยลงนามเสนอชือผู้เขียนเป็นผู้สมัครผลการเลือกตังปรากฏว่าผู้เขียนชนะ ได้เป็น 1 ใน 15 กรรมการบริหารสมาคมอินเทอร์เน็ตนานาชาติ ระหว่าง พ.ศ. 2542 –2545 ดังแสดงในรูปที 2.7 ในวันไปรับตําแหน่งทีสหรัฐอเมริกา มีสมาชิกหลายท่านเดินมาหาและบางท่านก็กล่าวว่า “ยินดีด้วยผมเลือกคุณนะ (Congratulation, I voted for you)” ผู้เขียนก็ขอบคุณท่านไป และเรียนท่านว่ามีอะไรจะให้ช่วยติดต่อมาได้เลย ผู้เขียนเป็นผู้แทนของท่าน และจะทําหน้าทีให้ดีทีสุด ช่วงทีเป็น 1 ใน 15 กรรมการบริหารสมาคมอินเทอร์เน็ตอยู่นัน ก็เลยต้องไปประชุมกรรมการบริหารทุกครังปีละ 3 ครัง ดังแสดงในรูปที 2.8 เป็นการประชุมกับนายกไอซอค พ.ศ. 2537 คือ เอ เอ็ม รุธคาวสคี (A.M. Ruthkowski) และดังแสดงในรูปที 2.9กับนายกไอซอค พ.ศ. 2542 ชือ ดอน ฮีธ (Don Heath)ส่วนรูปที 2.10 เป็นการไปประชุมไอซอค พ.ศ. 2543 ต้องกราบขอบพระคุณ ภราดา ดร. ประทีป มาร์ติน โกมลมาศ ทีกรุณาอนุมัติให้ใช้งบมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญครังละประมาณ 1 แสนบาท รวมปีละประมาณ 3 แสนบาท ไปประชุม และแสดงชืออัสสัมชัญให้โลกรู้จักว่า เราก็เป็นหนึงในผู้นําอินเทอร์เน็ตเหมือนกันรูปที 2.7 ศ.ดร. ศรีศักดิ จามรมานผู้เขียนเป็นกรรมการบริหารไอซอครูปที 2.8 ศ.ดร. ศรีศักดิ จามรมานกับ เอเอ็ม รุธคาวสคี นายกไอซอค พ.ศ.

8 -รูปที 2.9 ศ.ดร. ศรีศักดิ จามรมานกับ ดอน ฮีทนายกไอซอค พ.ศ. 2542รูปที 2.10 ศ.ดร. ศรีศักดิ จามรมานในการประชุมอินเทอร์เน็ต พ.ศ. 25432.5 การจดทะเบียนอินเทอร์เน็ตการติดต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ทีเชือมต่อกันอยู่ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตนัน คอมพิวเตอร์แต่ละเครืองจะต้องมีเลขทีอินเทอร์เน็ต (IP address) ทีแตกต่างจากกัน แต่เลขทีนีจดจํายากและเรียกยากจึงอาจใช้ชืออาณาเขต “โดเมนเนม (Domain Name)”แทนได้เลขทีชือสถานทีนอกอินเทอร์เน็ต682มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญในอินเทอร์เน็ต202.6.100.1au.edu 2.5.1 การแบ่งอาณาเขตระดับสูง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ1) ตามการใช้งาน อาทิ ดอตคอม (.com =company) ดอตเน็ต (.net =network) ดอตอีดียู(.edu =education) ดอตบิซ (.biz = business) ดอตโคอ็อพ (.coop = cooperatative)ดอตอ็อก (.org =organization) ดอตกอฟ (.gov = government) และดอตมิล (.mil = military) เป็นต้น2) ตามชือประเทศ อาทิ ดอตทีเอช (.th =thailand) แทนประเทศไทย และดอตเจพี (.jp =Japan) แทนประเทศญีปุ่น เป็นต้น2.5.2 ชือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ในการติดต่อระหว่างบุคคลต้องมีชือไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ หรือ“อีเมล์ (e-mail address)” ซึงประกอบด้วยชือบุคคล จะเป็นชือจริงหรือชือทีตังขึนมาใหม่ก็ได้ ตามด้วยเครืองหมาย “@”ตามด้วยชือคอมพิวเตอร์ อาทิ [email protected]หมายถึง ศรีศักดิทีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ[email protected]หมายถึงผู้ใช้นามว่า “Charm”ทีเครืองคอมพิวเตอร์เคเอสซีทีมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ2.5.3 การจดทะเบียนเลขทีอินเทอร์เน็ต การจดทะเบียนอินเทอร์เน็ตมี 2 แบบ คือ การจดทะเบียนเลขทีอินเทอร์เน็ต หรือ “ไอพีแอดเดรส(IP Address)”ในหัวข้อ 2.5.3 นี และ การจดทะเบียนชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ต หรือ “โดเมนเนม (Domain name)”ในหัวข้อ 2.5.4การจดทะเบียนเลขทีอินเทอร์เน็ตแบ่งเป็น 4 เขตใหญ่ๆ ในโลก คือ สหรัฐอเมริกา ยุโรป เอเชีย และอัฟริกา• “เอริน (ARIN = American Registry for Internet Number)” สําหรับสหรัฐอเมริกาPDF created with pdfFactory Pro trial version www.pdffactory.com

9 -• “ไรฟ์ เอ็นซีซี(RIPE NCC = The RIPE Network Coordination Centre)”สําหรับยุโรป• “แอปนิก (APNIC = Asia Pacific Network Information Centre)”สําหรับเอเชียแปซิฟิก • “อัฟรินิก (AfriNIC = African Network Information Centre)” สําหรับอัฟริกาผู้เขียนได้รับเลือกตังเป็น 1 ใน 5 กรรมการบริหารแอพนิค โดยอาจเรียกองค์กรจดทะเบียนเลขทีอินเทอร์เน็ตเป็นภาษาอังกฤษว่า “อาร์ไออาร์ (RIR = Regional Internet Registry)”ซึงก่อตังเมือ พ.ศ. 2536ตอนเริมตังแอพนิคมีคณะกรรมการบริหาร 5 ตําแหน่ง มีการเลือกตังทีฮ่องกง ผู้เขียนไม่ได้คิดจะเป็นกรรมการบริหาร เพราะทราบว่าสิงคโปร์ ญีปุ่น ออสเตรเลีย และฮ่องกงได้วิงเต้นกันไว้แล้ว ในการประชุมคณะกรรมการสรรหา ก็มีการเสนอชือทีได้สรรหากันมาแล้ว และถามว่ามีใครสนใจจะเสนอใครจากทีประชุมก็ได้ พอดีมีผู้เสนอชือผู้เขียนแล้วในการลงคะแนนรอบแรก ผู้เขียนเผอิญได้คะแนนสูง คณะกรรมการสรรหาดูท่าทางจะตกใจ และขอเวลานอกรูปที 2.11 เคเอสซีเป็นสมาชิกก่อตังและศ. ศรีศักดิ เป็นกรรมการแอพนิกระหว่างพักการประชุมขอเวลานอกนัน เผอิญผู้เขียนจะกลับเมืองไทยคืนนันจึงได้ซือขนมของขบเคียวต่างๆ ไว้ จะรับประทานคนเดียวก็น่าเกลียด ก็เลยเดินแจกผู้เข้าร่วมประชุมประมาณ 100 ท่าน ตอนนันไม่ได้คิดจะหาเสียงเลย พอเปิดประชุมใหม่ ลงคะแนนอีก ผู้เขียนก็เลยได้รับเลือกตังเป็นกรรมการและเป็นอยู่ 2 สมัย สมัยแรก พ.ศ. 2540 มี เจฟ ฮุสตัน จุน มูไร ทอมมี เชน ศรีศักดิ จามรมาน และ ชิง ลีสมัยทีสอง พ.ศ. 2541 มี โทรุ ตากาฮาชิ ศรีศักดิ จามรมาน ซีโฮ เชิง ชิง ลี และเจฟ ฮุลตัน โดยผู้เขียนเป็นเหรัญญิกการเป็นกรรมการแอพนิคของผู้เขียนนัน เป็นในนามของผู้ก่อตังและประธานบริษัทเคเอสซีดังแสดงในรูปที 2.11 หลังจากมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญอนุมัติตามข้อเสนอของผู้เขียนให้บังคับนักศึกษาทุกคนใช้อินเทอร์เน็ตให้มีความรู้ความสามารถเหมาะสมกับยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ก็มีนักศึกษาและผู้ปกครองแสดงความสนใจจะใช้อินเทอร์เน็ตในทางธุรกิจ ในยุคแรกของอินเทอร์เน็ตในสหรัฐอเมริกา ประมาณ พ.ศ. 2512-2531 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาอนุญาตให้ใช้อินเทอร์เน็ตเฉพาะในการศึกษาและวิจัยเท่านัน ในยุคแรกของอินเทอร์เน็ตเมืองไทย ประมาณ พ.ศ. 2530-2537 รัฐบาลก็อนุญาตให้ใช้อินเทอร์เน็ตเฉพาะในการศึกษาและวิจัยเท่านัน2.5.4 การจดทะเบียนชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ตเมือ พ.ศ. 2527 มีการเสนอระบบชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ต หรือ “ดีเอ็นเอส (DNS = Domain Name System)” แล้วในปีนันก็มีการจดทะเบียนอินเทอร์เน็ตถึง 1,000 ราย แล้วเมือ พ.ศ. 2528 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาก็มอบหมายให้มหาวิทยาลัยคาลิฟอร์เนียใต้ หรือ “ยูเอสซี (USC = University of Southern California)”เป็นผู้รับผิดชอบการจัดการ “แม่ข่ายรากดีเอ็นเอส (DNS Root Server)” โดยมี ดร. จอห์น พอสเทล PDF created with pdfFactory Pro trial

10 -เป็นหัวหน้าโครงการ มีการอนุมัติดอตคอม (.com) เมือวันที 15 มีนาคม พ.ศ. 2528 แล้วต่อมาก็มีการอนุมัติดอตอืนๆ อาทิ ดอตอ็อก (.org) ดอตอีดียู (.edu) และดอตยูเค (.uk) เป็นต้น จํานวนชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ต เพิมเป็น 10,000 ชือ ใน พ.ศ. 2530 แล้วเป็น 100,000 ชือ ใน พ.ศ. 2532 และเพิมขึนเป็น 1,000,000 ชือ ในพ.ศ. 2535พ.ศ. 2533 มีการจดทะเบียนชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ตของผู้ให้บริการเชือมต่ออินเทอร์เน็ตแบบหมุนโทรศัพท์(Dial-up) เป็นรายแรกในโลก (world.std.com) พ.ศ. 2536 เอ็นเอสเอฟตัง “อินเตอร์นิค (InterNIC)” เพือให้บริการจดทะเบียนอินเทอร์เน็ต อาทิ จดทะเบียนเลขทีเครือข่ายย่อยหรือ “เอเอส (AS = Autonomous System)”ในปีเดียวกันนีก็มีการจัดตังบริษัทเน็ตโซล (NetSol) หรือบริษัทเน็คเวิร์คโซลูชันส์ (Network Solutions Inc.)หรือเอ็นเอสไอ (NSI) ซึงได้รับมอบหมายจาก“เอ็นเอสเอฟ (National Science Foundation)”ให้ผูกขาดการจดชือดอตคอม (.com) ดอตเน็ต (.net) และ ดอตออร์ก (.org) สําหรับบริษัทเน็ตเวิร์คโซลูชันส์นีก่อตังโดย อาจารย์คณิตศาสตร์ ชือ “ดอน เทเลจ (Don Telage)” ซึงผู้เขียนได้ลงนามในสัญญา ดังแสดงในรูปที 2.12 เน็ตเวิร์คโซลูชันส์ มอบหมายให้เคเอสซี เป็นผู้แทนรับจดทะเบียนชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยรูปที 2.12 ดร. ดอน เทเลจ (คนยืนข้างหลัง)ผู้ก่อตังบริษัทเน็ตเวิร์คโซลูชันส์พ.ศ. 2541 เน็ตโซล รับจดชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ตไปแล้ว 2,000,000 ชือ ตังแต่ต้นจนถึงขณะนัน พ.ศ. 2542 รัฐบาลสหรัฐอเมริกาออกสมุดปกขาว เสนอให้จัดตังองค์กรอินเตอร์เน็ตสําหรับจดทะเบียนชือและหมายเลข หรือ “ไอแคนน์ (ICANN = Internet Corporation for Assigned Names and Numbers)”ในฐานะ 1 ใน 5 กรรมการบริหารแอพนิค ผู้เขียนได้ไปร่วมประชุมกับผู้ดูแลอินเทอร์เน็ตของสหรัฐอเมริกาและของยุโรป โดยประชุมกันทีเจนีวา ระหว่างทีประชุมกันก็มีคนหนึงหยอกเย้าว่า ถ้าจอน พอสเทล เป็นอะไรตายไป จะไม่มีใครดูแลแม่ข่ายราก อาจจะทําให้อินเทอร์เน็ตหยุดชะงักไปทัวโลก น่าจะตังเป็นคณะกรรมการช่วยกันดูแลมากกว่าให้จอนต้องรับผิดชอบคนเดียว จอนก็น่ารักมากเอ่ยปากว่าให้ตังคณะกรรมการได้เลย ต่อมาก็มีการประชุมกันว่าใครจะเป็นกรรมการบ้าง ตกลงกันแบ่งเป็นฝ่ายๆ อาทิ ผู้ดูแลชืออินเทอร์เน็ต (Domain Names) ผู้ดูแลเลขทีอินเทอร์เน็ต (IP Address) และผู้ใช้ (Users) เป็นต้นสําหรับผู้ดูแลชือกับผู้ดูแลเลขทีก็ไม่มีปัญหาเพราะมีหลักการอยู่แล้ว อาทิ แอพนิค ก็เป็นผู้ดูแลเลขทีของเอเชียแปซิฟิก ฉะนันในฐานะกรรมการอํานวยการแอพนิค ผู้เขียนก็มีสิทธิสมัครเป็นกรรมการไอแคนน์แต่พิเคราะห์ดูแล้วเห็นว่าจะต้องเดินทางไปประชุมปีละหลายครังสินเปลืองงบประมาณและเวลามากผู้เขียนจึงถอนตัวPDF created with

11 -อย่างไรก็ตาม ได้มีการตังคณะทํางานเรืองสมาชิก (Membership Implementation Task Form)ดูได้ทีเว็บไอแคนน์ (www.icann.org/committees/at-large/mitf-bios.html.) ในกลุ่มเอเชียตะวันออกมีสมาชิก 11 ท่านคือ ผู้เขียนจากประเทศไทย และอีก 10 ท่านจาก ญีปุ่น 3 ท่าน จีน 1 ท่าน ไต้หวัน 2 ท่าน เกาหลี 1 ท่าน สิงคโปร์ 1 ท่าน สหรัฐอเมริกา 1 ท่าน และฮ่องกง 1 ท่านผู้เขียนได้ไปร่วมประชุมไอแคนน์หลายครัง ดังตัวอย่างเช่น ในรูปที 2.13 มีผู้อาวุโสด้านอินเทอร์เน็ตไปร่วมประชุมไอแคนน์ ส่วนในรูปที 2.14 เป็นรูปผู้เขียนกับประธานกรรมการคนแรกของไอแคนน์ ชือ เอสเตอร์ไดซัน (Esther Dyson) และ รูปผู้เขียนในการประชุมไอแคนน์ทีญีปุ่นรูปที 2.13 ศ. ศรีศักดิ ในการประชุมผู้อาวุโสทีไอแคนน์รูปที 2.14 ศ. ศรีศักดิ กับ เอสเธอร์ ไดซัน ประธานไอแคนน์และการประชุมไอแคนน์ทีญีปุ่นพ.ศ. 2542 ไอแคนน์และองค์กรทรัพย์สินปัญญาโลก หรือ “ไวโป(WIPO = World Intellectual Property Organization)” ประกาศนโยบายแม่แบบการแก้ปัญหาข้อพิพาทชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ต (Model Domain Name Dispute Resolution Policy) วันที 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2543 ไอแคนน์อนุมัติชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ตใหม่ 7 อาณาเขต ได้แก่ ดอตบิซ สําหรับธุรกิจ (.biz =business) ดอตอินโฟ สําหรับข้อมูล (.info =information) ดอตแอโร สําหรับการบิน (.aero) ดอตโคอ็อฟ สําหรับสหกรณ์ (.coop =cooperatives) ดอตมิวเซียม สําหรับพิพิธภัณฑ์ (.museum) ดอตโปร สําหรับผู้เชียวชาญเฉพาะทาง (.pro =profession) และดอตเนม สําหรับชือบุคคล (.name) แล้วต่อมาไอแคนน์ก็พิจารณาคําขอมีชืออาณาเขตอินเทอร์เน็ตใหม่ๆ เป็นระยะๆ อาทิ ดอตคิด (.kid) เป็นอาณาเขตเด็ก ดอตจ๊อบ (.jobs) เป็นอาณาเขตการสมัครงาน ดอตโมบาย(.mobi) เป็นอาณาเขตบริษัทหรือองค์กรด้านการสือสาร ดอตอียู (.eu) เป็นอาณาเขตสหภาพยุโรป และดอตเทรเวล (.travel) เป็นอาณาเขตการท่องเทียว เป็นต้น 2.6 คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยโดยสังเขปเกียวกับคอมพิวเตอร์ในประเทศไทยนัน ผู้เขียนจะขอแบ่งเป็น 7 ยุคดังต่อไปนีPDF created with pdfFactory Pro trial version

www.pdffactory.com

12 -ยุคที 1 เริมตังแต่การนําลูกคิดเข้ามาใช้ในประเทศไทย ยุคนีจบลงตังแต่มีการนําเครื่องประมวลผลตาราง (Tabulating Machine) เข้ามาในประเทศไทยยุคที 2 เริมขึ้นเมือ พ.ศ.2480 โดยกระทรวงมหาดไทยติดตังเครื่องเจาะบัตร เครื่องจัดลําดับและนับบัตร และเครื่องทําตารางเพื่อสํารวจสํามะโนครัวในพ.ศ.2490และพ.ศ. 2500ยุคที 3 ซึงอาจจะนับได้ว่าเป็นยุคทีสําคัญทีสุดสําหรับเทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทย เริมขึนเมือ พ.ศ. 2503 เมือพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จประพาสซิลิกอน วอลเลย์(Silicon Valley) ในสหรัฐอเมริกา ดังในรูปที 2.15 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ทรงพระปรีชาสามารถได้ทรงแสดงพระวิสัยทัศน์ความเป็นพระผู้นําและทรงเป็นแรงบันดาลใจแก่ชาวไทยทังหลายให้เห็นถึงความสําคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ซึงรวมทังการศึกษาในประเทศไทย ผู้เชียวชาญด้านการศึกษาได้พยายามตามรอยพระยุคลบาทในรูปแบบต่างๆ อาทิ เมือ พ.ศ.2504 บัณฑิตวิทยาลัย วิศวกรรมศาสตร์ สปอ. ซึงเป็นส่วนหนึงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ปัจจุบันเปลียนชือเป็นสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย หรือเอไอที) ในขณะนันได้ตัดสินใจทีจะจัดตังศูนย์คอมพิวเตอร์แห่งแรกขึนในประเทศไทยด้วยความช่วยเหลือด้านการเงินของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา บัณฑิตวิทยาลัยจึงได้ให้ทุนแก่ผู้ทีจบปริญญาโทด้วยคะแนนสูงสุดให้ไปศึกษาปริญญาเอกทีสถาบันเทคโนโลยี แห่งจอร์เจีย เมืองแอตแลนต้า สหรัฐอเมริกา ผู้ทีได้รับทุนเผอิญเป็นผู้เขียน โดยวัตถุประสงค์ของการศึกษาปริญญาเอก ซึงได้บันทึกไว้ในเอกสารของสถาบันเทคโนโลยีแห่งจอร์เจีย ก็คือเพือให้ผู้ทีไปศึกษาปริญญาเอกได้กลับมาเป็นผู้นําด้านคอมพิวเตอร์ของประเทศไทยพ.ศ.2507 ได้มีการติดตังคอมพิวเตอร์ 2 เครืองแรกในประเทศไทยโดยเครืองหนึงติดตังอยู่ทีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและอีกเครืองหนึงติดตังทีสํานักงานสถิติแห่งชาติ ในปีนันสิงคโปร์ติดตังคอมพิวเตอร์เครืองแรกเพียง 1 เครืองและมาเลเซียยังไม่ได้ติดตังคอมพิวเตอร์เลย นับได้ว่าใน พ.ศ. 2507 ในด้านคอมพิวเตอร์นันไทยนําหน้าทังสิงคโปร์และมาเลเซีย ซึงผู้เขียนได้รับทุนไปศึกษาปริญญาเอกจากเอไอทีก็ได้รับปริญญาเอกในปีเดียวกันนัน โดยทําวิทยานิพนธ์ด้านการประมวลผลด้วยตัวเลข แต่ตัดสินใจอยู่ในสหรัฐอเมริกาต่อเพือหาประสบการณ์จนได้เป็นผู้อํานวยการบัณฑิตวิทยาลัยคอมพิวเตอร์ทีมหาวิทยาลัยแห่งรัฐมิซซูรีและต่อมาได้เป็นศาสตราจารย์เต็มขัน (Full Professor) ชาวไทยคนแรกในสหรัฐอเมริกา (ทีมหาวิทยาลัยแห่งรัฐนิวยอร์ก) แล้วจึงกลับมาเมืองไทย เมือ พ.ศ. 2517 โดยได้รับแต่งตังเป็นศาสตราจารย์สถิติประยุกต์และหัวหน้าสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ รวมทังได้รับการเลือกตังเป็นประธานสภาข้าราชการทีสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) ใน พ.ศ. 2519 ทบวงมหาวิทยาลัยตังคณะกรรมการคอมพิวเตอร์ เพือกําหนดนโยบายและดูแลการใช้คอมพิวเตอร์เพือการศึกษาในมหาวิทยาลัยของรัฐและเอกชนผู้เขียนได้รับการแต่งตังเป็นประธานกรรมการยุคที 4 อาจจะกล่าวได้ว่าเริมขึ้นเมือ พ.ศ.2521 เมือมีการนําไมโครคอมพิวเตอร์เข้ามาในประเทศไทย เครื่องแรกๆ ที่นําเข้ามาก็คือเครื่อง เรดิโอแชค ทีอาร์เอส 80(Radio Shack TRS 80) ซึงผู้เขียนเป็นผู้หิวรูปที 2.15 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จเยือนบริษัทคอมพิวเตอร์ในอเมริกาPDF created with pdfFactory Pro trial version

13 -ขึ้นเครื่องบินจากอเมริกาเข้ามาทีเอแบค และใช้ในการจัดตัง “ภาควิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (Business Computer)”ของเอแบคให้ปริญญาตรี “คอมพิวเตอร์ธุรกิจ”แห่งแ

หมายเลขบันทึก: 199203เขียนเมื่อ 6 สิงหาคม 2008 20:48 น. ()แก้ไขเมื่อ 29 พฤษภาคม 2012 20:05 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท