พฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะในงานมหกรรมพืชสวนโลก


พฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะในงานมหกรรมพืชสวนโลก

 

แบบรายการประกอบคำขอประเมินผลงาน

ผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

เรื่อง พฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะในงานมหกรรมพืชสวนโลก

ของ

ชื่อ นายเศกสรร วงศ์ดี

ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ

5

ตำแหน่งเลขที่

1687

กลุ่มงาน

/ฝ่าย กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัย

สิ่งแวดล้อม

สำนัก

/กอง/ศูนย์ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

กรมอนามัย

เพื่อแต่งตั้งให้ดำรง

ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุข ระดับ

6

ตำแหน่งเลขที่

1687

กลุ่มงาน

/ฝ่าย กลุ่มพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาอนามัย

สิ่งแวดล้อม

สำนัก

/กอง/ศูนย์ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่

กรมอนามัย

1

ผลงานที่เป็นผลการดำเนินงานที่ผ่านมา

1.

ชื่อผลงานเรื่อง

2.

ระยะเวลาที่ดำเนินการ

3.

สัดส่วนของผลงานที่ผู้เสนอเป็นผู้ปฏิบัติ

4.

ผู้ร่วมจัดทำผลงาน

1.

นายเศกสรร วงศ์ดี สัดส่วนของผลงาน

80%

นายอินใจ วงศ์รัตนเสถียร สัดส่วนของผลงาน

20%

 

5.

บทคัดย่อ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะในงานมหกรรมพืชสวนโลก เพื่อนำผลการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาส้วมสาธารณะ ประชากรในการวิจัยคือ กลุ่มผู้ใช้ส้วมสาธารณะในงานมหกรรมพืชสวนโลก คำนวณหาขนาดตัวอย่างโดยใช้

 

Taro Yamane Technique. ได้จำนวนตัวอย่าง 868 คน เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือแบบสอบถาม สุ่มตัวอย่างโดยการเลือกตัวอย่างตามความสะดวก (Convenient Sampling) จากผู้ใช้งานส้วมสาธารณะที่ติดตั้งในงานมหกรรมพืชสวนโลก จำนวน 18

แห่ง และมีความสมัครใจที่จะให้ข้อมูล มีผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ดังนี้

 

58.29 และ 44.71 ช่วงอายุของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน 21 – 60 ปี ร้อยละ 78.4 ผมีอายุเกิน 60 ปี มีเพียงร้อยละ 5.2 อาชีพหลักของกลุ่มตัวอย่าง ที่มาก 3 อันดับแรกได้แก่ ธุรกิจส่วนตัว, รับราชการ และรับจ้างหรือเป็นพนักงานบริษัท คิดเป็นร้อยละ 20.97, 19.35 และ 15.90 ตามลำดับ ส่วนอาชีพหลักที่น้อยที่สุด คือ เกษตรกร ร้อยละ 6.57 ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จบในระดับ ปวส./อนุปริญญาตรี, มัธยมศึกษา และปริญญาตรี และสูงกว่า คิดเป็นร้อยละ 27.99, 25.12, 24.31 ตามลำดับ อย่างไรก็ตามมีกลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้ศึกษาถึงร้อยละ

10.02

ในการเลือกใช้ส้วมสาธารณะพบว่า ระหว่างส้วมนั่งราบและส้วมนั่งยอง กลุ่มตัวอย่างเลือกใช้ส้วมนั่งยองถึงร้อยละ

 

62.21 ด้วยเหตุผล เพราะไม่มีส้วมนั่งราบให้เลือก, เคยชินและสะดวก คิดเป็นร้อยละ 56.57 และ 30.99 ตามลำดับ ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เลือกใช้ส้วมนั่งราบ ร้อยละ 37.79 นั้น มีเหตุผล ไม่มีส้วมนั่งยองให้เลือก, เคยชินและสะดวก คิดเป็นร้อยละ 23.04 และ 29.95 ตามลำดับ นอกจากนั้นกลุ่มที่ใช้ส้วมนั่งราบให้เหตุผลด้านสุขภาพ คือ การใช้ส้วมนั่งยองทำให้ปวดเข่า ร้อยละ

17.05

ในกลุ่มที่ใช้ส้วมแบบนั่งราบ กลุ่มตัวอย่างที่นั่งลงบนที่นั่งโดยตรงมีถึง ร้อยละ

 

70.05 ส่วนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม คือ ใช้เท้าเหยียบบนที่นั่งแล้วนั่งยอง และยกที่รองนั่งขึ้นแล้วนั่งยองบนฐานส้วมมีคิดเป็นร้อยละ 10.02 และ 4.92

ตามลำดับ

 

89.29 ราดน้ำเฉพาะหลังใช้ส้วม ร้อยละ 8.06 ส่วนที่ราดน้ำเฉพาะก่อนใช้ส้วมอย่างเดียวซึ่งเป็นพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม มีร้อยละ 2.65 สำหรับการล้างมือหลังใช้ส้วมนั้น มีผู้ล้างมือด้วยสบู่ ร้อยละ 40.90 ล้างมือด้วยน้ำเพราะไม่มีสบู่ ร้อยละ 34.33 ส่วนกลุ่มที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสม คือ ล้างมือโดยไม่ใช้สบู่ทั้งที่จัดสบู่ไว้ให้แล้ว และไม่ล้างมือหลังใช้ส้วม มีถึงร้อยละ 19.01 และ 5.76

ตามลำดับ

 

88.02 ส่วนการทั้งนั้น กลุ่มตัวอย่างอย่างทิ้งลงถังขยะ ร้อยละ 49.08 ทิ้งลงโถส้วม ร้อยละ 50.92 ส่วนผ้าอนามัยที่ใช้แล้วกลุ่มตัวอย่างทิ้งลงถังขยะ ร้อยละ

100

เรื่องของค่าบริการใช้ส้วมสาธารณะ กลุ่มตัวอย่างยินดีจ่ายค่าบริการ ร้อยละ

 

60.02

ในเรื่องของการสูบบุหรี่ในขณะใช้ส้วมสาธารณะนั้น กลุ่มตัวอย่างสูบบุหรี่ร้อยละ

 

32.26 กลุ่มที่สูบบุหรี่ทิ้งก้นบุรี่ในถังขยะ ร้อยละ 80.00 ส่วนอีกร้อยละ 20.00

ทิ้งก้นบุรี่ลงในโถส้วม

6.

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา

งานมหกรรมพืชสวนโลกเฉลิมพระเกียรติฯ ราชพฤกษ์

 

2549 ได้เริ่มขึ้นระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2549 ถึง วันที่ 31 มีนาคม 2550 มีเนื้อที่ 470 ไร่ เนื่องในวโรกาสมหามงคลที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 60 ปี ในปี 2549 และจะทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในปี 2550 นับเป็นมหกรรมการเฉลิมฉลองครั้งประวัติศาสตร์ที่คนไทยทั้งชาติจะได้ร่วมภาคภูมิใจ ตลอด 92

วัน

 

35,000 คน เมื่อเสร็จงานมีผู้เข้าชมจำนวน 3,848,791

คน

 

(Architecture) ด้านพฤติกรรม (Behavior) ด้านความสะอาด

(Cleaning)

ด้านการจัดสิ่งปฏิกูล

 

(Disposal) โดยใช้เกณฑ์ส้วมสาธารณะไทย คือ สะอาด (Health) เพียงพอ (Accessibility) ปลอดภัย (Sefaty) หรือเกณฑ์ HAS

ในการประเมินส้วมให้ได้มาตรฐานดังกล่าว

 

17 เป้าหมาย เป้าหมายที่สำคัญที่นำไปสู่การมีที่อยู่อาศัยที่ถูกสุขลักษณะมีน้ำที่สะอาด เพื่ออุปโภคบริโภค ดำรงชีวิตในสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาพที่ดีนั้น การพัฒนาสุขาภิบาลให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งการพัฒนาส้วมสาธารณะไทยให้ถูกหลักสุขาภิบาลจะต้องดำเนินการให้ครบองค์ประกอบการหลัก 3

องค์ประกอบ คือ โครงสร้างการบริหารจัดการและพฤติกรรมการใช้ส้วมชองประชาชน การเก็บหรือการบำบัดสิ่งปฏิกูลในถังเกระ การสูบ การขนถ่ายที่ถูกต้อง ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ

 

4

กลยุทธ์ดังต่อไปนี้

1.

 

กลยุทธ์การสร้างการมีส่วนร่วม

(Creating Participation Strategy)

เป็นการระดมศักยภาพและการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งภาคการเมือง ราชการ วิชาการ เอกชน และประชาชน เข้ามาร่วมคิดร่วมทำอย่างเป็นระบบ เป็นรูปธรรมจริงจังและต่อเนื่อง โดยมีภาคราชการ

 

(กระทรวงและองค์กรหลักที่เกี่ยวข้อง)

เป็นแกนส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการดำเนินงานอย่างบูรณาการ และฝ่ายการเมืองให้การสนับสนุนนโยบายและงบประมาณ รวมทั้งเสริมสร้างขีดความสามารถด้านการบริหารจัดการส้วมสาธารณะให้สะอาด ปลอดภัย เพียงพอได้มาตรฐานให้แก่องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นและเจ้าของสถานที่ตั้งส้วม โดยสนับสนุนให้เจ้าของสถานที่ตั้งเป็นแกนหลักของการดำเนินงานอย่างจริงจัง

2.

 

กลยุทธ์การสื่อสารสาธารณะ

(Public Communication Strategy)

เป็นการประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมเรียนรู้ ร่วมขับเคลื่อนผ่านสื่อต่างๆ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ยุทธศาสตร์การจัดการเรื่องส้วมเพื่อสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในเจตนารมณ์และแนวทางปฏิบัติอันจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงาน และประชาชนทั่วไป โดยการสร้างช่องทางการสื่อสารสองทอง

 

(Two-way Communication)

เพื่อแบ่งปันข้อมูลข่าวสาร และรับทราบความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทุกระดับ รวมทั้งพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารให้เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนกันได้ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแนวดิ่งและแนวระนาบ

3.

 

กลุยทธ์การใช้มาตรฐานทางสังคมและมาตรการทางกฎหมาย

(Social and Law Enforcement Strategy)

เป็นการใช้มาตรฐานทางสังคมและมาตรการทางกฎหมายเพื่อช่วยผลักดันการดำเนินงาน เช่น บังคับใช้กฎหมายเพื่อการคุ้มครองสิทธิของประชาชน การรณรงค์ให้เกิดวัฒนธรรมการใช้ส้วมที่ดีในสังคมให้เกิดแบบอย่างเพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัย สร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อสังคมรวมทั้งสร้างและรณรงค์เผยแพร่ภาพพึงประสงค์ของส้วมสาธารณะที่ดี ยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณบุคคลองค์กรที่สร้างคุณประโยชน์หรือเป็นแบบอย่างที่ดี รวมถึงจูงใจและให้ผลตอบแทนในรูปแบบต่างๆ เช่น การลดภาษีประชาสัมพันธ์ การประกาศเกียรติคุณ เป็นต้น

 

4.

 

กลยุทธ์การพัฒนาวิชาการและการเรียนรู้

(Knowledge and Learning Strategy)

ดำเนินการบนระบบฐานความรู้และมีการเรียนรู้ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง โดยสร้างให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ต่อเนื่อง และยั่งยืน และมีการพัฒนาระบบการให้บริการทางวิชาการเพื่อการเข้าถึงข้อมูลและเกิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึงในทุกระดับ สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับภาคีภาครัฐและเอกชน เพื่อพัฒนาและถ่ายทอดวัฒนธรรมองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่นำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมและคุ้มค่า

 

7.

วัตถุประสงค์

1.

เพื่อศึกษาสถานการณ์สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมสาธารณะในมหกรรมพืชสวนโลก

2.

เพื่อนำผลงานศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาส้วมสาธารณะไทย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

8.

วิธีการดำเนินงาน/วิธีการศึกษา/ขอบเขตงาน

การทำวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะในงานมหกรรมพืชสวนโลกและเพื่อนำผลงานศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาส้วมไทย มีวิธีการและรายละเอียด ดังนี้

 

1.

 

ประชากรกลุ่มตัวอย่าง

2.

 

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

3.

 

การเก็บรวบรวมข้อมูล

4.

 

การวิเคราะห์ข้อมูล

 

868

คน

 

Taro Yamane (อ้างในบุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์, 2535, หน้า 63) ในระดับความเชื่อมั่นที่

0.05

สูตรคำนวณหาขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

N = X2NPQ

E2 (N - 1) + X2PQ

เมื่อ

 

N =

ขนาดของตัวอย่าง

X2 =

 

ค่าไคสแควร์ df เท่ากับ 1 และระดับความเชื่อมั่น

95% (X2 = 3.84)

 

ขนาดของประชากร

P =

 

สัดส่วนของลักษณะที่สนใจในประชากร

Q = 1 – P = 1 – 0.05 = 0.05

E =

 

เปอร์เซ็นต์ของความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้

(e = 0.05)

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเอง เป็นแบบสอบถาม

 

2 ตอน ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม มีจำนวน 5 ข้อ ตอนที่ 2 พฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะ จำนวน 9

ข้อ

การสร้างเครื่องมือ

วิธีการสร้างแบบสอบถาม

1.

 

ศึกษาตำราเอกสารและงานวิจัยเพื่อเป็นแนวทางในการสร้างแบบตอบสอบถาม

2.

 

สร้างแบบสอบถามเพื่อนำไปเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูล

1.

นำแบบสอบถามไปเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ผู้วิจัยและผู้ช่วยผู้วิจัย จำนวน 16

คน

2.

รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง

3.

การวิเคราะห์ข้อมูล

9.

ผลการดำเนินงาน/ผลการศึกษา

 

การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะในงานมหกรรมพืชสวนโลก นำเสนอ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลดังต่อไปนี้

 

1.

 

สภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

2.

 

พฤติกรรมการใช้ส้วมสาธารณะ

6

ตารางที่

1

 

สถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม

จำนวน

 

ร้อยละ

 

เพศ

1.

ชาย

2.

หญิง

506

362

 

58.29

41.71

 

อายุ

1.

ต่ำกว่า 20

ปี

2. 21 – 30

ปี

3. 31 – 40

ปี

4. 41 – 50

ปี

5. 51 – 60

ปี

6.

มากกว่า 60

ปี

142

193

205

190

93

45

 

16.4

22.2

23.6

21.9

10.7

5.2

 

อาชีพหลัก

1.

รับราชการ/

รัฐวิสาหกิจ

2.

ค้าขาย/

ธุรกิจส่วนตัว

3.

รับจ้างประจำ/

พนักงานบริษัท

4.

รับจ้างรายวัน

5.

เกษตรกร

6.

แม่บ้าน/

พ่อบ้าน

7.

นักเรียน/

นักศึกษา

หมายเลขบันทึก: 190215เขียนเมื่อ 25 มิถุนายน 2008 10:16 น. ()แก้ไขเมื่อ 22 มิถุนายน 2012 12:43 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (0)

ไม่มีความเห็น

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท