สิงคโปร์: กรณีศึกษาการพัฒนาชาติ ด้วยการศึกษา 2


 ต่อจาก สิงคโปร์: กรณีศึกษาการพัฒนาชาติ ด้วยการศึกษา [C]

วิกรม กรมดิษฐ์ (2550 : 222) สรุปปัญหาการศึกษาของสิงคโปร์ยุคก่อนที่จะพัฒนาว่า เมื่อครั้งที่ลีกวนยูขึ้นมาบริหารประเทศมีปัญหาด้านการศึกษาหลายประการ คือ

  1. ระบบการศึกษาไม่ได้เอื่อต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของประเทศ
  2. โรงเรียนมีหลายรูปแบบตามเชื้อชาติของประชาชน ซึ่งก่อให้เกิดอคติต่อชนชาติอื่น
  3. หลักสูตรการสอนมักเน้นการจำมากกว่าการคิดวิเคราะห์
  4. การเพิ่มจำนวนประชากรอย่างรวดเร็วภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ทำให้สิงคโปร์มีนักเรียนเพิ่มมากขึ้นอย่างน่าวิตก

แล้วเขาจะแก้ปัญหาและพัฒนาอย่างไร ?

หมายเลขบันทึก: 169238เขียนเมื่อ 5 มีนาคม 2008 19:26 น. ()แก้ไขเมื่อ 13 พฤษภาคม 2012 02:17 น. ()สัญญาอนุญาต: จำนวนที่อ่านจำนวนที่อ่าน:


ความเห็น (1)

ข้อสังเกตคือ ระบบการศึกษาของสิงคโปร์เป็นแบบ "แพ้คัดออก" หรืออาจเรียกว่า "ระบบพีระมิด" ในการก้าวสู่แต่ละขั้นของพีระมิด นักเรียนต้องผ่านการสอบอย่างเข้มงวด เพราะรัฐบาลเอาจริงเอาจังและเข้มงวดกับคุณภาพการศึกษามาก

เนื่องจากสิงคโปร์มีบุคคลหลายเชื้อชาติ รัฐบาลจึงกำหนดนโยบายเรียนสองภาษา คือนักเรียนทุกคนจะต้องเรียนภาษาอังกฤษและภาษาพ่อแม่ของตนอีกหนึ่ง รัฐบาลให้ความสำคัญแก่ภาษาอังกฤษสูงสุด เพราะจะได้พูดสื่อสารและเรียนรู้จากชาวต่างประเทศได้อย่างเต็มที่

พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow
ClassStart
ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต
ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี
ClassStart Books
โครงการหนังสือจากคลาสสตาร์ท